Now showing items 2-10 of 10

    • Thumbnail

      การศึกษาแรงลม ของโครงการอาคารพาร์ค ออริจิ้น พระราม 4 โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-01-22)

      ตามไฟล์แนบ
    • type-icon

      การศึกษาแรงลมโดยวิธีทดสอบแบบจำลองในอุโมงค์ลม โครงการอาคาร WHA BANGNA (WIND LOAD STUDY FOR WHA BANGNA BUILDING PROJECT BY WIND TUNNEL TEST) 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-02-20)

      วัตถุประสงค์ของการศึกษาแรงลมของโครงการอาคาร WHA Bangna โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม มีดังนี้ 1) การศึกษาแรงลมโดยรวมและการตอบสนองของอาคาร ด้วยวิธีการวัดแรงลมที่ฐานอาคารในอุโมงค์ลม เพื่อนำแรงลมไปออกแบบโครงสร้างหลักต้านทานแรงลม และคำนวณอัตราเร่งสูงสุดที่ยอดอาคารภายใต้แรงลม 2) ศึกษาแรงลมเฉพาะที่สำหรับออกแบบผนังภายนอกอาคาร ด้วยวิธีวัดหน่วยแรงลมของแบบจำลองในอุโมงค์ลม เพื่อนำหน่วยแรงลมไปออกแบบกระจกรอบอาคารตามหน่วยแรงลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งทำให้ปลอดภัย และประหยัด กล่าวคือบริเวณที่มีหน่วยแรงลมมากก็เสริมกระจกให้มีความหนามากขึ้น ส่วนบริเวณที่มีหน่วยแรงลมน้อยก็ใช ...
    • type-icon

      จัดจ้างที่ปรึกษาถอดแบบโครงการก่อสร้างเพื่อพัฒนาการจัดทำน้ำหนักดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง ปีงบประมาณ 2558 

      ธีร์ เจียศิริพงษ์กุล; Jearsiripongkul, Thira (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      อุตสาหกรรมการก่อสร้างในปี 2553 มีมูลค่าการลงทุนภาคการก่อสร้างทั่วประเทศโดยรวมเท่ากับ 896,772 ล้านบาท โดยแบ่งเป็นการก่อสร้างภาครัฐ 487,421 ล้านบาท และการก่อสร้างภาคเอกชน 409,351 ล้านบาท เมื่อเปรียบกับปี 2552 พบว่า มูลค่าการก่อสร้างโดยรวมเพิ่มขึ้นร้อยละ 12 โดยจํานวนผู้ได้รับอนุญาตให้ก่อสร้างทั่วประเทศจํานวน 169,595 ราย เป็นการก่อสร้างใหม่ 166,648 ราย และเป็นการต่อเติมหรือดัดแปลงอาคารจำนวน 2,947 ราย ในการอนุญาตก่อสร้างดังกล่าวนั้นมีทั้งที่ได้รับอนุญาตให้ก่อสร้างใหม่และต่อเติมดัดแปลง โดยคิดเป็นมูลค่างานก่อสร้างที่เป็นอาคารโรงเรือนรวมทั้งสิ้น 841,942 ...
    • type-icon

      จ้างที่ปรึกษาเพื่อจัดทำคู่มือการตรวจสอบสะพานกาญจนาภิเษก 

      กฤดายุทธ์ ชมภูมิ่ง; สายันต์ ศิริมนตรี; บุรฉัตร ฉัตรวีระ; นรินทร์ วัฒนกุล; วชิรา พรหมสาขา ณ สกลนคร (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      การจัดทำคู่มือการตรวจสอบสะพานกาญจนาภิเษกในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในการตรวจสอบสะพานกาญจนาภิเษกสามารถดำเนินการได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ ถูกต้องตามหลักวิศวกรรม มีการสำรวจ เก็บบันทึกข้อมูล และติดตามผลการปฏิบัติงานซึ่งจะทำให้การตรวจสอบ ซ่อมแซมและบำรุงรักษาสะพานเป็นไปอย่างต่อเนื่องให้สะพานมีความมั่นคง แข็งแรง ปลอดภัย มีอายุการใช้งานยาวนานต่อไป และเป็นการบริหารทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุดในระยะยาว คู่มือการตรวจสอบสะพานกาญจนาภิเษก ประกอบด้วยข้อมูลทางวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องของสะพาน องค์ประกอบและรหัสชิ้นส่วนของโครงสร้างสะพาน ...
    • type-icon

      ทดสอบน้ำหนักบรรทุกที่มีผลต่อกำแพงกันดินจากรถบรรทุกขนาด25 ตัน 

      สายันต์ ศิริมนตรี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-01-27)

      รายงานฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอผลการตรวจวัดการตอบสนองของโครงสร้างกำแพงกันดินที่มีต่อน้ำหนักบรรทุกในสภาวะการใช้งานปกติเป็นเวลา 24 ชั่วโมง โดยโครงสร้างที่พิจารณาอยู่ภายในพื้นที่ของการประปานครหลวง (กปน.) โดยกำแพงกันดินดังกล่างเป็นส่วนหนึ่งของถนน แจ้งวัฒนะ-ประชาชื่น เป็นถนนเลียบคลองประปาระยะประมาณ 500 เมตร ทั้งนี้ความเป็นไปได้มีการบันทึกผลการตอบสนองโดยค่าความเครียด การเอียงตัวและระดับการสั่นไหว พบว่าค่าความเครียดมีค่ามากที่สุดเท่ากับ 8 microstrain ค่าการเอียงตัวมากที่สุดเท่ากับ 0.0021 Degree และ ค่าระดับการสั่นไหวมีค่ามากที่สุดเท่ากับ 0.5%g. ...
    • Thumbnail

      พัฒนามาตรฐานการตรวจสอบการประเมินและซ่อมแซมโครงสร้างอาคารเก่าและโครงสร้างอาคารที่เสียหาย 

      สมนึก ตั้งเติมสิริกุล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-11-12)

      รายละเอียดตามไฟล์แนบ
    • type-icon

      วิเคราะห์โครงสร้างสะพานท่าเทียบเรือของบริษัท เคอรี่ สยามซีพอร์ต จำกัด อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 

      รองศาสตราจารย์ ดร. สายันต์ ศิริมนตรี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2562)

      รายงานฉบับนี้แสดงถึงการวิเคราะห์คำนวณกำลังการรับน้ำหนักสูงสุดสำหรับสะพานในส่วน Approach ในพื้นที่ของ Kerry Siam Seaport โดยโครงสร้างดังกล่าวประกอบไปด้วยสะพานช่วง 25, 30 เมตร และโครงสร้างส่วน Splay Area โดยกระบวนการวิเคราะห์ตามมาตรฐาน AASHTO ที่ทำให้ Load Rating มีค่ามากกว่า 1.0 น้ำหนักบรรทุกสูงสุดที่โครงสร้างสามารถรับได้ มีค่าเท่ากับ 420 ตันของน้ำหนักทั้งหมดภายใต้รูปแบบรถ SPMT จำนวน 21 เพลา โดยการเคลื่อนผ่านจะต้องเป็นการดำเนินงานด้วย Special limited crossing ที่มีการควบคุมความเร็วและรถร่วมผ่านโครงสร้าง อย่างไรก็ตาม กระบวนการ Inspection และ ...
    • type-icon

      ศึกษาแรงลมของโครงการอาคาร CU 33 โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-03-04)

      วัตถุประสงค์ของการศึกษาแรงลมของโครงการอาคาร GEN-A โดยการทดสอบในอุโมงค์ลม มีดังนี้ 1) การศึกษาแรงลมโดยรวมและการตอบสนองของอาคาร ด้วยวิธีการวัดแรงลมที่ฐานอาคารในอุโมงค์ลม เพื่อนำแรงลมไปออกแบบโครงสร้างหลักต้านทานแรงลม และคำนวณอัตราเร่งสูงสุดที่ยอดอาคารภายใต้แรงลม 2) ศึกษาแรงลมเฉพาะที่สำหรับออกแบบผนังภายนอกอาคาร ด้วยวิธีวัดหน่วยแรงลมของแบบจำลองในอุโมงค์ลม เพื่อนำหน่วยแรงลมไปออกแบบกระจกรอบอาคารตามหน่วยแรงลมที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งทำให้ปลอดภัย และประหยัด กล่าวคือบริเวณที่มีหน่วยแรงลมมากก็เสริมกระจกให้มีความหนามากขึ้น ส่วนบริเวณที่มีหน่วยแรงลมน้อยก็ใช้กระจ ...
    • type-icon

      แนวทางการบูรณะโครงสร้างสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า 

      กฤดายุทธ์ ชมภูมิ่ง (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-05-05)

      โครงการนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาสำรวจ วิเคราะห์ และกำหนดแนวทางการบูรณะปรับปรุงโครงสร้างสะพานสมเด็จพระปิ่นเกล้า โดยการดำเนินงานประกอบด้วย 1) การสำรวจความเสียหาย (Visual Inspection) ของโครงสร้างสะพาน 2) การสำรวจค่าพิกัด (Alignment) และระดับ (Profile) ของโครงสร้างสะพาน และการตรวจวัดการเคลื่อนตัวของชิ้นส่วนต่าง ๆ ของโครงสร้างสะพาน 3) การตรวจสอบพฤติกรรมการรับน้ำหนักของโครงสร้างสะพานภายใต้น้ำหนักบรรทุกทดสอบและภายใต้การจราจรปกติ (Bridge Load Test and Behavior Measurement) 4) การวิเคราะห์พฤติกรรมและการประเมินความมั่นคงแข็งแรงของโครงสร้างสะพาน ...