Show simple item record

dc.contributor.authorสุนิสา ช่อแก้ว
dc.contributor.otherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2019-02-13T06:38:08Z
dc.date.available2019-02-13T06:38:08Z
dc.date.issued2017
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/535
dc.description.abstractการเร่งสร้างเครือข่ายนวัตกรรมเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ที่สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) ดำเนินการเพื่อให้ตอบโจทย์การมีนวัตกรรมเพื่อเพิ่มคุณค่าที่ยั่งยืนให้กับสังคมไทย ด้วยความสำคัญดังกล่าวจึงเป็นที่มาของการศึกษา “การสร้างระบบและแนวทางการดำเนินงานพัฒนาเครือข่ายภายใต้ระบบนิเวศนวัตกรรมแห่งชาติ” ภายใต้กรอบการดำเนินงาน 4 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนแรก พัฒนาตัวแบบ ขั้นตอนที่สอง วางแนวทางและรูปแบบการดำเนินงาน ขั้นตอนที่สาม ออกแบบเครื่องมือการประเมิน และขั้นตอนที่สี่ จัดทำโครงการนำร่อง จากผลลัพธ์ในการดำเนินโครงการ พบว่า (1) ตัวแบบระบบในการพัฒนาเครือข่ายนวัตกรรม ประกอบด้วยตัวแบบ 2 ระดับ ได้แก่ เครือข่าย Type A เครือข่ายนวัตกรรมเพื่อการเปลี่ยนแปลงเชิงสถาบัน และเครือข่าย Type B เครือข่ายนวัตกรรมเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม (2) วางกรอบแนวทางและรูปแบบการดำเนินงาน ตามระบบในการพัฒนาเครือข่ายนวัตกรรม พร้อมคู่มือการพัฒนาเครือข่ายนวัตกรรม 1 ฉบับ (3) จัดทำเครื่องมือในการประเมินความเข้มแข็งของเครือข่ายนวัตกรรม พร้อมคู่มือการประเมินความเข้มแข็งของเครือข่ายนวัตกรรม 1 ฉบับ (4) สรุปผลการจัดทำโครงการนำร่อง ประกอบด้วย การถอดบทเรียนกรณีศึกษา ความร่วมมือการส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมในระดับภูมิภาคและกรณีศึกษาการพัฒนาเครือข่ายภายในสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติth
dc.description.abstractDeveloping innovation networks is one of the strategies that the National Innovation Agency (Public Organization) is committed to correspond to enhance sustainable innovation value for Thai society. Creating a system and guidelines for developing innovation network under the national innovation ecosystem, there are four steps which include: 1) exploring the model, 2) designing the roadmap and platform, 3) determining the assessment tools, and 4) conducting the pilot project. First, we found that the innovation network development system consisted of two levels: ‘type A’ an innovation network for institutional change and ‘type B’ an innovation network for behavioral change. Second, we conducted the roadmap, the platform and the manual for developing innovation network and behavioral change. Third, we developed assessment tools to evaluate the innovation network’s strength. Finally, we concluded the project with the lessons-learned from the pilot case studies from a regional level and an internal network.th
dc.description.sponsorshipสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothaen
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร
dc.subjectเครือข่ายนวัตกรรมth
dc.subjectตัวแบบระบบเครือข่ายนวัตกรรมth
dc.subjectแนวทางและรูปแบบการดำเนินงานth
dc.subjectเครื่องมือการประเมินth
dc.subjectInnovation Networkth
dc.subjectInnovation Network Developmentth
dc.subjectRoadmap and Platformth
dc.subjectAssessment Toolsth
dc.titleการสร้างระบบและแนวทางการดำเนินงานพัฒนาเครือข่ายภายใต้ระบบนิเวศนวัตกรรมแห่งชาติ
dc.title.alternativeInnovation Network Development
dc.typeText
dcterms.accessRightsสงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเฉพาะบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rights.holderสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
cerif.cfProj-cfProjId2560A00302
mods.genreบทความ
mods.location.physicalLocationสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
turac.projectTypeโครงการวิจัย
turac.researchSectorสาขาการบริหารและการพัฒนาองค์กร (Management and Institutional Development sector : MID)
turac.contributor.clientสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
turac.fieldOfStudyวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการ


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record