Show simple item record

dc.contributor.authorธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา
dc.contributor.otherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2018-07-13T02:29:20Z
dc.date.available2018-07-13T02:29:20Z
dc.date.issued2017
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/437
dc.description.abstractในปัจจุบันการเจ็บป่วยจากการประกอบอาชีพเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขทั่วโลก ในปี พ.ศ.2552 องค์การแรงงานระหว่างประเทศได้ประมาณการมูลค่าความสูญเสียที่เกิดจากการบาดเจ็บ จากการประกอบอาชีพไว้ที่ปีละร้อยละ 4 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของทุกประเทศทั่วโลก โดยคิดคำนวณจากความเสียหายทางตรงและทางอ้อม ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยใช้ข้อมูลจากกองทุนเงินทดแทนระหว่างปี พ.ศ. 2554-2559 เพื่อคำนวณและประมาณการมูลค่าความเสียหายทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากการบาดเจ็บจากการประกอบอาชีพในประเทศไทยโดยตัวแบบจำลองที่ครอบคลุมถึงต้นทุน ความเสียหายทางเศรษฐกิจที่แรงงาน นายจ้าง และภาครัฐต้องแบกรับ ซึ่งผู้วิจัยใช้ตัวแบบดังกล่าว คำนวณมูลค่าความเสียหายทางเศรษฐกิจจากจำนวนอุบัติเหตุและการเจ็บป่วยจากการประกอบอาชีพ จำนวน 156,428-625,712 กรณี และพบว่า โดยเฉลี่ยแล้ว มูลค่าของความเสียหายทางด้านเศรษฐกิจจากการเจ็บป่วยจากการประกอบอาชีพคิดเป็น 0.11% - 1.17% ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศของประเทศไทย และเมื่อพิจารณาตามประเภทอุตสาหกรรมแล้วพบว่า อุตสาหกรรมเหล็กมีมูลค่าความเสียหายจากการบาดเจ็บจากการประกอบอาชีพมากที่สุด ตามมาด้วยภาคการค้าและอุตสาหกรรมเคมี นอกจากนี้พบว่า อุตสาหกรรมขนาดเล็กและขนาดกลางที่มีจำนวนแรงงาน 50-200 คนมีมูลค่าความเสียหายจากการบาดเจ็บจากการประกอบอาชีพสูงกว่าอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่มีจำนวนแรงงานมากกว่า 200 คนth
dc.description.abstractWork-related injuries and illnesses represent a primary health risk worldwide. In 2009, the International Labor Organization (ILO) estimated that four (4) percent of annual global GDP is lost due to the direct and indirect costs of work-related hazards and ill health. Using the 2011-2016 dataset from the Thai Workmen Compensation Fund under the Ministry of Labor, this article offers a preliminary economic cost model of fatal occupational accidents and illnesses in Thailand. This model takes into account the costs borne by workers, employers, and the government sector. Based on this model, this article estimates the economic costs of 156,428 to 625,712 fatal occupational accidents and illnesses. It also calculates that on average, these costs represented 0.11 percent to 1.17 percent of Thailand’s Gross Domestic Product (GDP) over the six-year period. When these costs were broken down by industrial sectors, metal-related businesses accounted for the largest proportion of the total economic costs, followed by commercial and chemical businesses. Also, it was found that small and medium enterprises with 50-200 employees absorbed higher occupational hazard and health costs per employee than large enterprises with more than 200 employees. This article concludes by discussing public policies that could address the occupational health and safety issue in Thailand.th
dc.description.sponsorshipสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน (องค์การมหาชน)
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothaen
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร
dc.subjectเศรษฐศาสตร์ความปลอดภัยth
dc.subjectอาชีวอนามัยและความปลอดภัยth
dc.subjectกองทุนเงินทดแทนth
dc.subjectSafety Economics Occupationalth
dc.subjectSafety and Health Workmenth
dc.subjectCompensation Fundth
dc.titleส่งเสริมวิจัยด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
dc.title.alternativePromotion Research on Occupational Safety and Health in Workplace Environment
dc.typeText
dcterms.accessRightsสงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเฉพาะบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rights.holderสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน (องค์การมหาชน)
cerif.cfProj-cfProjId2560A00705
mods.genreบทความ
mods.location.physicalLocationสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
turac.projectTypeโครงการวิจัย
turac.researchSectorสาขาสิ่งแวดล้อม (Environment sector : EV)
turac.contributor.clientสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน (องค์การมหาชน)
turac.fieldOfStudyสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการ


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record