Show simple item record

dc.contributor.authorศรุต อำมาตย์โยธิน
dc.contributor.otherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2018-01-30T03:21:50Z
dc.date.available2018-01-30T03:21:50Z
dc.date.issued2017
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/370
dc.description.abstractสำหรับงานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาวัสดุเชิงประกอบของแบคทีเรียเซลลูโลสและพอลิเอทิลีนไกลคอล ซึ่งออกแบบเป็นแผ่นเยื่อบางขึ้นโดยการสกัดแบคทีเรียเซลลูโลสจากวุ้นมะพร้าวผสมกับพอลิเอทิลีนไกลคอล พบว่า พอลิเอทิลีนไกลคอลจะแทรกตัวเข้าไปในโครงสร้างรูพรุนของโครงร่างตาข่ายแบคทีเรียเซลลูโลส โดยศึกษาโครงสร้างทางจุลภาคด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (SEM) อย่างไรก็ตามวัสดุเชิงประกอบเกิดพันธะไฮโดรเจนระหว่างกันจากการศึกษาโครงสร้างและหมู่ฟังก์ชันด้วยเทคนิค FTIR โดยที่หมู่ไฮดรอกซิลของทั้งแบคทีเรียเซลลูโลสและพอลิเอทิลีนไกลคอลสร้างพันธะระหว่างกัน นอกจากนี้ยังมีค่าการเสถียรทางความร้อนได้สูงถึง 300 องศาเซลเซียส ด้วยเทคนิค TGA เมื่อทดสอบค่าศักย์ซีต้ามีค่าประจุไฟฟ้าอยู่ที่ -40 มิลลิโวลต์ และยังมีการศึกษาความมีขั้ว (polarity) ของวัสดุด้วยค่าไดอิเล็กทริกอีกด้วย อีกทั้งยังทำการทดสอบการดูดซับไอออนโลหะโครเมียม พบว่ามีระยะเวลาในการดูดซับที่จุดสมดุล คือ 5 ชั่วโมง และการดูดซับซึ่งตัวดูดซับเป็นแผ่นเยื่อบางมีประสิทธิภาพในการดูดซับที่ดีในน้ำเสียที่มีการเจือปนของสารที่อันตรายth
dc.description.abstractBacterial cellulose and polyethylene glycol was successfully designed as a composite membrane. The existence of polyethylene glycol was inserted into the porous structure of bacterial cellulose network as observed by Scanning electron microscope. The H-bond was formed between the hydroxyl group of both bacterial cellulose and polyethylene glycol unit. The composite membrane presented the thermal stability up to 300°C. The zeta potential revealed that composite membrane exhibits the electric charge of -40 mV in water. Frequency dependence on dielectric properties also presented its ability of polarization. Preliminary experiment on chromium (III) adsorption of composite membrane was observed. The uptake was stability after 5 hours. The experiment on membrane adsorption was promised us as an excellent adsorbent material in hazardous waste.th
dc.description.sponsorshipสถาบันพลาสติก
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothaen
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร
dc.subjectแบคทีเรียเซลลูโลสth
dc.subjectวัสดุเชิงประกอบth
dc.subjectการดูดซับth
dc.subjectBacterial celluloseth
dc.subjectCompositesth
dc.subjectAdsorptionth
dc.titleการแปรรูปวัสดุชีวมวลจากเส้นใยธรรมชาติเพื่อการประยุกต์ใช้งานเป็นแผ่นดูดซับน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
dc.title.alternativeDevelopment of cellulose based composite for membrane material in industrial wastewater treatment
dc.typeText
dcterms.accessRightsสงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเฉพาะบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rights.holderสถาบันพลาสติก
cerif.cfProj-cfProjId2560A00181
mods.genreบทความ
mods.location.physicalLocationสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
turac.projectTypeโครงการวิจัย
turac.researchSectorสาขาอุตสาหกรรม (Industry sector : IN)
turac.contributor.clientสถาบันพลาสติก
turac.fieldOfStudyวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการ


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record