Show simple item record

dc.contributor.authorสัญญา มิตรเอม
dc.contributor.otherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2017-12-22T06:54:59Z
dc.date.available2017-12-22T06:54:59Z
dc.date.issued2016
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/357
dc.description.abstractโครงการระบบลาดตระเวนอัจฉริยะ เพื่อตรวจสอบวัตถุระเบิดฝังใต้พื้นดิน โครงการนี้ประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ประการ คือ (1) การเคลื่อนที่บนพื้นผิวต่างๆ (2) ระบบลาดตระเวนอัจฉริยะ และ (3) ระบบนำทางกึ่งอัตโนมัติ โดยมีจุดประสงค์เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพของหุ่นยนต์ลาดตระเวน เพื่อลดการสูญเสียที่เกิดจากเหตุการณ์ระเบิดในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในปัจจุบันประชาชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ต้องใช้ชีวิตเสี่ยงกับสถานการณ์เหล่านี้ ซึ่งในบางครั้งก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิตของประชาชน เพื่อที่จะเข้าใจปัญหามากขึ้น คณะผู้วิจัยได้ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมสามจังหวัดคือ ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส ได้พบปะกับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งได้แนะนำและอธิบายให้เข้าใจถึงปัญหาดังกล่าว ซึ่งได้ข้อสรุปว่า เหตุการณ์ระเบิดภายในภาคใต้ ส่วนมากนั้นจะมีวัตถุประสงค์เพื่อทำร้ายเจ้าหน้าที่ เพื่อทำลายขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ และต้องการที่จะโน้มน้าวประชาชนในพื้นที่ให้เกิดการต่อต้านเจ้าหน้าที่ จากปัญหาดังกล่าว คณะผู้วิจัยจึงมีความคิดที่จะพัฒนาหุ่นยนต์ที่สามารถตรวจสอบและประเมินความเสี่ยงแทนที่มนุษย์ โดยงานวิจัยนี้จะนำเสนอหุ่นยนต์ตรวจสอบวัตถุใต้พื้นดินที่มีระบบลาดตระเวนกึ่งอัตโนมัติ โดยมีแนวทางการพัฒนาคือ การออกแบบโครงสร้างและการขับเคลื่อนที่ใช้ในพื้นผิวขรุขระ ขับเคลื่อนสี่ล้อ และสามารถเคลื่อนที่บนพื้นถนนและพื้นดินอย่างคล่องแคล่วและเสถียร การสร้างแผนที่สองมิติ โครงการนี้ใช้เซ็นเซอร์ประสิทธิภาพสูงในการตรวจวัดสภาพแวดล้อม เพื่อหุ่นยนต์จะนำข้อมูลไปสร้างเส้นทางในการเคลื่อนที่และแสดงผลแผนที่ ระบบลาดตระเวนอัจฉริยะใช้ GPR และการประมวลผลเพื่อประเมินความเสี่ยงของวัตถุใต้ พื้นดิน และแสดงผลเพื่อให้เจ้าหน้าที่สามารถปฏิบัติงานต่อได้อย่างปลอดภัย โดยคณะผู้วิจัยคาดว่าโครงงานนี้จะสามารถลดการสูญเสียชีวิตและทรัพย์สินจากเหตุการณ์ระเบิดในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ได้th
dc.description.abstractThis paper deal with Autonomous Robotic Reconnoiter design; focusing in 3 areas 1) Locomotion 2) Intelligent Reconnoitering System 3) Semi-autonomous navigation. Objective of this project is to bring highly efficient and practical use of Reconnoiter Robot to prevent losses from any bombing attempt regarding to Southern Insurgency in the Three Border Provinces. Nowadays, our people in the Three Border Provinces has faced with unsafe condition where terrorist insurgency and results in many injured or even death. To ensure practical use, in this study also included qualitative research through in-depth interview of selected samples from Special Force Units in Pattani, Yala, and Narathiwat provinces. The interview comprising 3 groups of 18 people; 3 Chasseurs, and 3 Commanders in each group. From this interview, most bombing attempts aims to hurt officer and decrease confident level of publicity toward Thai government. In the other hand, this urgency attempt is also to gain local people alliance and popularity. To support officer and innocent people, robot design for navigate and detect any abnormality before people entering risk areas is needed. This project presents a high accuracy landmine detection robot with semi auto application of locomotion system. The key design features are ; Mechanical & dynamic design with all terrains application. Using 4-wheels drive, robot can drive through rough and even road surfaces and clay land., Algorithm for path planning and 2D/3D scene reconstruction. This project use high performance sensors to retrieve depth data. Robot can create its own path to move along the route while generating map data., Intelligent Reconnoitering system, using GPR and algorithm to define possibility of foreign objects hidden underground and visualize it to user to take further action., With all described, we firmly believe that this study be benefit to protectinghuman life and our resources.th
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothaen
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร
dc.subjectระบบลาดตระเวนอัจฉริยะth
dc.subjectระบบนำทางกึ่งอัตโนมัติth
dc.subjectIntelligent Reconnoitering Systemth
dc.subjectSemi-autonomous navigationth
dc.titleระบบลาดตระเวนอัจฉริยะเพื่อตรวจสอบวัตถุระเบิดใต้ดินภายใต้โครงการทุนพัฒนาศักยภาพนักวิจัยด้านยุทโธปกรณ์เพื่อพัฒนาศักยภาพของกองทัพและการป้องกันประเทศ ประจำปีงบประมาณ 2559
dc.title.alternativeIntelligent Reconnoitering System
dc.typeText
dcterms.accessRightsสงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเฉพาะบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rights.holderสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
cerif.cfProj-cfProjId2559A00013
mods.genreบทความ
mods.location.physicalLocationสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
turac.projectTypeโครงการวิจัย
turac.researchSectorสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology sector : ICT)
turac.contributor.clientสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
turac.fieldOfStudyวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการ


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record