Show simple item record

dc.contributor.authorอรพรรณ คงมาลัย
dc.contributor.otherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2017-10-31T07:35:13Z
dc.date.available2017-10-31T07:35:13Z
dc.date.issued2017
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/351
dc.description.abstractตั้งแต่ปี 2559 ที่ผ่านมา มูลนิธิมั่นพัฒนาได้เป็นแกนหลักในการระดมความร่วมมือขององค์กรชั้นนำในประเทศเพื่อก่อตั้งเครือข่ายอนาคตไทย ซึ่งมี 109 องค์กรเข้าร่วมเครือข่าย ประกอบด้วย ภาคธุรกิจ ภาครัฐ และภาคประชาสังคม โดยมีเจตนารมณ์เพื่อวางรากฐานการใช้ชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มุ่งเน้นการรณรงค์ระดับชาติเพื่อให้คนไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงค่านิยมและพฤติกรรม ใน 4 มิติ ได้แก่ เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และ วัฒนธรรม ทั้งนี้ ได้มีการขยายผลการดำเนินงานของเครือข่ายอนาคตไทยไปในระดับพื้นที่ต้นแบบเป็นแห่งแรกในจังหวัดขอนแก่น งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิจัยและเสนอแนะโครงสร้างขับเคลื่อนเครือข่ายอนาคตไทยในระดับพื้นที่ ผลการวิจัยพบว่าเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพควรประกอบด้วยสมาชิกที่มีลักษณะแตกต่างกัน และมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวกต่อกัน ประกอบด้วย 5 กลุ่มเครือข่าย ได้แก่ (1) Assignment network (2) Social network (3) Information network (4) Resource network และ (5) Knowledge network.th
dc.description.abstractSince 2015, the Thailand Sustainable Development Foundation has encouraged the collaboration among leading organizations to initiate the Thai Future Networking. This network is composed of 109 organizations, including corporations, government agencies, and non-profit organizations. The primary objectives of the network are to promote the Sufficiency Economy as well as to change Thai citizen’s attitude and behavior in four perspectives i.e. economy, society, environment, and culture. Additionally, the Thai Future Networking has a first pilot project in the area of Khon Kaen Province. This research aims to examine and suggest the operation structure for implementing the Thai Future Network in the regional area of Thailand. The research findings indicate that the effective network consists of different types of sub networks i.e. (1) Assignment network (2) Social network (3) Information network (4) Resource network, and (5) Knowledge network.th
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothaen
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร
dc.subjectกำหนดแนวทางth
dc.subjectโครงสร้างขับเคลื่อนเครือข่ายth
dc.titleจ้างที่ปรึกษาวิจัยเพื่อกำหนดแนวทางการขับเคลื่อนเครือข่ายอนาคตไทย
dc.title.alternativeGuideline for Driving Thai Future Network
dc.typeText
dcterms.accessRightsสงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเฉพาะบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rights.holderมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
cerif.cfProj-cfProjId2560A00338
mods.genreบทความ
mods.location.physicalLocationสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
turac.projectTypeโครงการที่ปรึกษา
turac.researchSectorสาขาการบริหารและการพัฒนาองค์กร (Management and Institutional Development sector : MID)
turac.contributor.clientมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
turac.fieldOfStudyสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการ


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record