Show simple item record

dc.contributor.authorจิตตาภรณ์ ศรีบุญจิตต์
dc.contributor.otherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2015-01-19T04:16:04Z
dc.date.available2015-01-19T04:16:04Z
dc.date.issued2013
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/31
dc.description.abstractLand in the residential community main purpose is to assist farmers to have their own dwelling without cost but because of urban growth, land use has changed somewhat. Some use still remains as residential but some have turned into commercial. Some commercials are minor support to family income and some are commercial business that supports the farming and residential daily life and operation. However, some land use have turnedinto a fully operated businesses both retail and industrial. Rent was never collected and a new policy must now be reconsidered. With the above reasons, the paper attempts to find solutions to the policy makers that will create a situation where both land owner and land user benefits. The paper divided land use into three main groups. One, residential only, two, residential and semi commercial that supports and relates to the farming and residential purpose and third, fully operated business and industrial purposes. Rent calculation for each land use is different, residential being low to none and fully operated businesses and industrial purposes are the highest. Best practices are also used as a guideline such as those from The Crown Property or The Treasury Department.en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของที่ดินชุมชนโดยหลักการครั้งแรกเริ่มคือ การเป็นที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัยของเกษตรกรโดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดใดทั้งสิ้น เพื่อที่ช่วยเหลือเกษตรกร แต่เนื่องจากการขยายเมืองและเศรษฐกิจสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปที่ดินดังกล่าวบางพื้นที่ บางแปลงได้มีการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน เช่น เพื่อเชิงพาณิชย์ และเชิงอุตสาหกรรม การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเพื่อวางนโยบายในเรื่องของการอนุญาตการใช้ประโยชน์ของที่ดิน และการจัดผลประโยชน์ จากหลักการและเหตุผลข้างต้น การศึกษาครั้งนี้ได้แบ่งการใช้ประโยชน์ของที่ดินออกเป็นสามกลุ่มใหญ่ๆ นั่นคือ หนึ่งเพื่อวัตถุประสงค์ที่อยู่อาศัยเพียงอย่างเดียว สองเพื่อวัตถุประสงค์ที่อยู่อาศัยและเชิงพาณิชย์ที่สนับสนุนรายได้ครัวเรือนอย่างพอเพียง และหรือกิจการที่เกี่ยวเนื่องกับเกษตรกรรมและสนับสนุนชุมชน และสามวัตถุประสงค์ที่เป็นเชิงพาณิชย์และอุตสาหกรรมที่ใหญ่ หลักการการคำนวณมูลค่าที่ดิน และค่าเช่าแตกต่างออกไปสำหรับแต่ละกลุ่ม ทั้งนี้การศึกษานี้ได้ใช้หลักการและเหตุผลของหน่วยงานอื่นที่น่าจะเป็นตัวอย่างที่ดีในการร่วมพิจารณาหลักการ เช่น สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ และกรมธนารักษ์ เป็นต้นth
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothaen
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร
dc.subjectการประเมินมูลค่าที่ดินth
dc.subjectที่ดินth
dc.subjectการใช้ประโยชน์ของที่ดินth
dc.subjectที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัยth
dc.subjectที่ดินเพื่อที่อยู่อาศํยและเชิงพาณิชย์th
dc.subjectที่ดินเพื่อเชิงพาณิชย์และอุตสาหกรรมขนาดใหญ่th
dc.subjectการคำนวณมูลค่าที่ดินth
dc.subjectค่าเช่าที่ดินth
dc.titleการศึกษาแนวทางการประเมินมูลค่าที่ดินชุมชนในเขตปฏิรูปที่ดิน สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ระยะที่ 1)
dc.typeText
dcterms.accessRightsสงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเฉพาะบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
cerif.cfProj-cfProjId2556A00001
mods.genreรายงานวิจัย
mods.location.physicalLocationสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
turac.projectTypeโครงการวิจัย
turac.researchSectorสาขาการเกษตรและการพัฒนาชนบท (Agriculture And Rural Development sector : AG)
turac.contributor.clientสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
turac.fieldOfStudyสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการ


Files in this item

FilesSizeFormatView

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record