Show simple item record

dc.contributor.authorแก้วตา โรหิตรัตนะ
dc.contributor.otherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2017-05-22T07:14:32Z
dc.date.available2017-05-22T07:14:32Z
dc.date.issued2016
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/313
dc.description.abstractกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม มีการดำเนินกิจกรรมและโครงการต่างๆ เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมของไทยหลากหลายโครงการภายใต้งบประมาณจำนวนมากในแต่ละปี กรมส่งเสริมอุตสาหกรรมจึงมีการติดตามและประเมินผลสัมฤทธิ์ ของโครงการต่างๆ อย่างต่อเนื่องเสมอมาเพื่อให้ทราบถึงปัญหาและผลลัพธ์ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญเพื่อชี้วัดความสำเร็จของแต่ละโครงการ โดยการติดตามและประเมินผลโครงการ ประจำปีงบประมาณ 2559 ของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมแบ่งการติดตามและประเมินผลโดยใช้กรอบการประเมินที่แตกต่างกันตามลักษณะและวัตถุประสงค์ของการดำเนินกิจกรรม ซึ่งจำแนกเป็น 7 ประเภท ได้แก่ โครงการ/กิจกรรมประเภทให้คำปรึกษา (Consulting Project) โครงการ/กิจกรรมประเภทฝึกอบรมให้ความรู้ (Training Project) โครงการ/กิจกรรมประเภทสร้างเครือข่าย (Networking Project) โครงการ/กิจกรรมประเภทนวัตกรรม (Innovation Project) โครงการ/กิจกรรมประเภทให้บริการ (Service Project) โครงการ/กิจกรรมประเภทจัดการกิจกรรมพิเศษ (Organizing Project) โครงการ/กิจกรรมประเภทเฉพาะกลุ่มเรื่อง (Special Project) การดำเนินโครงการของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรมในปีงบประมาณ 2559 สร้างผลผลิตต่อ 2,868 กิจการ 67 กลุ่มวิสาหกิจ 14,324 คน 362 ผลิตภัณฑ์ 79 เครือข่าย 130 นักออกแบบ 11 ศูนย์บริการ ซึ่งมากกว่าผลผลิตตามแผนที่กำหนดไว้ และการประเมินในเชิงคุณภาพและผลผลัพธ์ของโครงการพบว่า โครงการ/กิจกรรมส่วนใหญ่บรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ อย่างไรก็ ตามพบว่ายังมีกิจกรรมหรือผลลัพธ์บางส่วนที่ต้องได้รับการปรับปรุงและพัฒนาในปีต่อไป ที่ปรึกษาฯ จึงเสนอข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อการดำเนินโครงการของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ใน 6 ประเด็น ได้แก่ การสร้างแบรนด์ เข้าถึงกลุ่มลูกค้ารายใหม่เข้ ใจความต้องการระดับพื้นที่ คุณภาพที่ปรึกษา กำกับติดตามแข็งขัน การมีส่วนร่วมแท้จริงth
dc.description.abstractDepartment of Industrial Promotion, Industrial Industry (DIP) launch various projects to promote and develop the industry of Thailand in each year. So the project’s monitoring and evaluation is important to identify problems, figure outcomes and impacts and measure the projects’ achievement. In 2016, DIP’s Projects were separated to 7 types by activities’ characters include Consulting Project, Training Project, Networking Project, Innovation Project, Service Project and Special Project. These projects create outcome and impact to 2,868 SMEs, 67 SEs, 14,324 entrepreneurs and employers, 362 products, 79 networks, 130 designers, and 11 service centers. Although mostly projects achieve their objectives, some activities and outputs should improve. So there are some suggestions include Brand creation, Approach new customers, Understand customers’ specific need, Qualified Consultant, Actively monitoring and Extensive participation.th
dc.description.sponsorshipกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothaen
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร
dc.subjectติดตามและประเมินผลth
dc.subjectประเมินผลสัมฤทธิ์th
dc.titleติดตามและประเมินผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2559
dc.title.alternativeDIP Project Monitoring and Evaluation
dc.typeText
dcterms.accessRightsสงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเฉพาะบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rights.holderกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
cerif.cfProj-cfProjId2559A00055
mods.genreบทความ
mods.location.physicalLocationสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
turac.projectTypeโครงการวิจัย
turac.researchSectorสาขาการวิจัยและการประเมินผล (Research and Evaluation sector : RE)
turac.contributor.clientกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
turac.fieldOfStudyสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการ


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record