โครงการศึกษาเพื่อจัดทำกฎหมายว่าด้วยการรับขนของทางถนนระหว่างประเทศ
by สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Title: | โครงการศึกษาเพื่อจัดทำกฎหมายว่าด้วยการรับขนของทางถนนระหว่างประเทศ |
Author(s): | สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
Contributor(s): | สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
Publisher: | สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
Issued date: | 2010 |
Research Sector: | สาขากฎหมาย (Law sector : LW) |
Project Type: | โครงการวิจัย |
Project Status: | สิ้นสุดโครงการ |
Keyword(s): | กฎหมายว่าด้วยการรับขนของทางถนนระหว่างประเทศ
การรับขนของทางถนนระหว่างประเทศ การขนส่งทางถนน สัญญาการขนส่งทางถนนระหว่างประเทศของภูมิภาคเอเชีย การประกันภัยการขนส่งของระหว่างประเทศ |
Resource type: | รายงานวิจัย |
Type: | Text |
Language: | tha |
Rights: | เอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร |
Access rights: | สงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเฉพาะบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
URI: | https://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/138 |
Files in this item (CONTENT) |
|
View TU-RAC_Road-law-abs-eng.pdf ( 463.10 KB ) |
|
View TU-RAC_Road-law-abs-tha.pdf ( 422.84 KB ) |
This item appears in the following Collection(s) |
|
|
Related items
Showing items related by title, author, creator and subject.
-
จัดหมวดหมู่อาชญากรรมในกฎหมายไทยเข้ากับหมวดหมู่ตามมาตรฐานระหว่างประเทศว่าด้วยการจำแนกประเภทอาชญากรรมเพื่อประโยชน์ทางสถิติ ระยะที่ 2
ณรงค์ ใจหาญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-03-20)
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์สองประการ คือ ประการแรก จัดหมวดหมู่อาชญากรรมในประมวลกฎหมายอาญาและพระราชบัญญัติที่มีโทษทางอาญาของไทย ให้เข้ากับหมวดหมู่ ๐๒ ความผิดเกี่ยวกับการกระทำที่ก่อให้เกิดภัยอันตรายหรือเจตนาให้เกิดภัยอันตรายแก่บุคคล หมวดหมู่ ๐๔ ความผิดเกี่ยวกับความผิดต่อทรัพย์สินที่เกี่ยวข้องกับความรุนแรงหรือภยันตรายต่อบุคคล และหมวดหมู่ ๐๕ ความผิดต่อทรัพย์สินแต่ไม่เกี่ยวกับความรุนแรงหรือภยันตรายต่อบุคคล และหมวดหมู่ ๐๖ การกระทำความผิดที่เกี่ยวข้องกับยาที่กฎหมายควบคุมหรือสารออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาทประเภทอื่น ของตามมาตรฐานระหว่างประเทศว่าด้วยการจำแนกปร ... -
จัดหมวดหมู่อาชญากรรมในกฎหมายไทยเข้ากับหมวดหมู่ ตามมาตรฐานระหว่างประเทศว่าด้วยการจำแนกประเภทอาชญากรรม เพื่อประโยชน์ทางสถิติ ระยะที่ 1
ณรงค์ ใจหาญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-03-20)
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์สองประการ คือ ประการแรก จัดหมวดหมู่อาชญากรรมในประมวลกฎหมายอาญาและพระราชบัญญัติที่มีโทษทางอาญาของไทย ให้เข้ากับหมวดหมู่ ๐๑ ความผิดเกี่ยวกับชีวิต และหมวดหมู่ ๐๓ ความผิดเกี่ยวกับเพศ ของตามมาตรฐานระหว่างประเทศว่าด้วยการจำแนกประเภทอาชญากรรมเพื่อประโยชน์ทางสถิติ( ICCS version 1.0) ประการที่สอง หาแนวทางที่มีประสิทธิภาพและแนวทางการแก้ไขปัญหาหากมี ในการจัดทำหมวดอื่นที่เหลือของมาตรฐานระหว่างประเทศ วิธีการศึกษา (๑) ศึกษาวิจัยเอกสาร ตำรา และแนววินิจฉัยของศาลฎีกา และข้อมูลกฎหมายทางเวปไซด์ ที่เกี่ยวกับการจัดหมวดหมู่อาชญากรรมตามมาตรฐา ... -
การเพิ่มบทบาทไทยในการมาตรฐานระหว่างประเทศ: การนำเสนอมอก. 9999 เล่ม 1-2556 เป็นมาตรฐาน ISO
แก้วตา โรหิตรัตนะ; พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิวัตน์; ภานุวงศ์ คัมภิรารักษ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)
การเพิ่มบทบาทไทยในการมาตรฐานระหว่างประเทศโดยการนำเสนอ มอก. 9999 เล่ม 1-2556 เป็นมาตรฐาน ISO เป็นโครงการโดยความร่วมมือระหว่างสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) และสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการนำเสนอ มอก. 9999 เล่ม 1-2556 แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงภาคอุตสาหกรรม ให้เป็นมาตรฐานระหว่างประเทศ (International Standard - IS) ขององค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (International Organization for Standardization -ISO) โดย มอก. 9999 เล่ม 1-2556 เป็นมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่กระท ...