Show simple item record

dc.contributor.authorบัณฑิต ลิ้มมีโชคชัย
dc.contributor.otherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2014-08-04T04:43:39Z
dc.date.available2014-08-04T04:43:39Z
dc.date.issued2013
dc.identifier.urihttps://repository.turac.tu.ac.th/handle/6626133120/12
dc.description.abstractNationally Appropriate Mitigation Actions (NAMAs) was first introduced in the “Bali Action Plan” in COP13 in 2008. There are two types of NAMAs: 1) Domestically Supported NAMAs and 2) Internationally supported NAMAs. Both need measurable, reportable and verifiable (MRV) processes to ensure the quantified emission reduction. Thailand has high potential of GHG emission reduction by both domestically supported NAMAs and internationally supported NAMAs in 2020 about 23-73 million ton CO2 or approximately accounted for 7-20% from the total GHG emissions in 2020. These NAMAs actions include measures in i) Alternative Energy Development Plan (AEDP), ii) energy efficiency in industris and building, iii) biofuels in transportation, and iv) sustainable environmental transport. Thailand’s mitigation pledge has been prepared on the basis of these measures. This study also analyzed macroeconomic effects by using input-output table. Co-benefits of NAMAs are also assessed through these indicators: 1) Diversity of Primary Energy Demand (DoPED), 2) Net Energy Import Dependency (NEID), 3) Net Oil Import Dependency (NOID), 4) Net Gas Import Dependency (NGID), 5) Non-Carbon based Fuel Portfolio (NCFP), 6) Oil Import Intensity (OII), 7) Gas Import Intensity (GII), 8) Energy Intensity (EI), and 9) Carbon Intensity (CI). Results from input-output analysis and co-benefit analyses reveal positive aspects of GHG mitigation under NAMA framework. SWOT analysis was also carried out to identify strengths, weaknesses, opportunity and threats of NAMAs. Finally, criteria for NAMAs facility have been reviewed for the internationally supported NAMAs. The MRV process of these NAMAs needs cooperation among TGO, ONEP, ministry of energy, and ministry of transportation.en
dc.description.abstractNationally Appropriate Mitigation Actions (NAMAs) ถูกนำเสนอขึ้นครั้งแรกใน “Bali Action Plan” ในการประชุมสมัชชาประเทศภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ COP13 ในปี พ.ศ. 2551 ทั้งนี้แผนการลดก๊าซเรือนกระจกแบบ NAMAs มีอยู่ 2 รูปแบบคือ 1) Domestically Supported NAMAs และ 2) Internationally supported NAMAs โดยที่ทั้งสองรูปแบบต้องการกระบวนการตรวจวัด รายงาน และทวนสอบ (Monitor, Report and Verify: MRV) เพื่อความแน่ใจในปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ลดได้ ประเทศไทยมีศักยภาพในการลดก๊าซเรือนกระจกแบบ NAMAs ได้ประมาณ 23-73 ล้านตัน หรือลดได้เทียบเท่ากับร้อยละ 7-20 ของการปล่อยในปี พ.ศ. 2563 มาตรการใน NAMAs ประกอบด้วย แผนการใช้พลังงานหมุนเวียนในการผลิตไฟฟ้าและในสาขาขนส่ง แผนการอนุรักษ์พลังงาน และแผนแม่บทของ สนข กระทรวงคมนาคม มาตรการเหล่านี้ได้ถูกรวบรวมและจะได้นำเสนอในหนังสือแสดงเจตจำนงในการลดก๊าซเรือนกระจก (Mitigation Pledge) ต่อ UNFCCC ต่อไป การศึกษาครั้งนี้ยังได้รวมถึงผลกระทบต่อเศรษฐกิจมหภาคโดยใช้ตาราง Input-Output และยังได้ศึกษาถึงผลประโยชน์ร่วมด้านความมั่นคง พลังงานและสิ่งแวดล้อมเพื่อยืนยันถึงผลดีและผลประโยชน์โดยรวมที่ประเทศไทยจะได้จากมาตรการ NAMAs การศึกษายังรวมถึงการวิเคราะห์ SWOT เพื่อให้ทราบถึงจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและภัยคุกคามต่อมาตรการ NAMAs ในประเทศไทย นอกจากนี้รายงานนี้ยังได้รวบรวมกฎเกณฑ์และเงื่อนไขในการขอรับการสนับสนุนของ internationally supported NAMAs จาก NAMAs Facility ด้วย ท้ายสุดนี้ การศึกษานี้ยังได้นำเสนอร่างกระบวน MRV ของมาตรการใช้พลังงานหมุนเวียนและการอนุรักษ์พลังงานที่ต้องร่วมกันประสานระหว่าง อบก สผ กระทรวงพลังงาน และกระทรวงคมนาคม ต่อไปth
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothaen
dc.publisherสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.rightsเอกสารฉบับนี้สงวนสิทธิ์โดยสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ห้ามทำซ้ำ คัดลอก หรือนำไปเผยแพร่ตัดต่อโดยมิได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร
dc.subjectก๊าซเรือนกระจกth
dc.subjectไทยth
dc.subjectแผนการลดก๊าซเรือนกระจกth
dc.subjectพลังงานหมุนเวียนth
dc.subjectการอนุรักษ์พลังงานth
dc.subjectมาตรการ NAMAsth
dc.titleพัฒนารูปแบบการแสดงเจตจำนงค์ Mitigation Pledge และแนวทางการดำเนินงานลดก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมของประเทศไทย (NAMAs) ในภาคพลังงาน (สาขาผลิตไฟฟ้าการใช้พลังงานในอุตสาหกรรม และอาคารควบคุม)
dc.typeText
dcterms.accessRightsสงวนสิทธิ์ในการเข้าถึงเฉพาะบุคลากรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
cerif.cfProj-cfProjId2556A00258
mods.genreรายงานวิจัย
mods.location.physicalLocationสำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
turac.projectTypeโครงการวิจัย
turac.researchSectorสาขาพลังงาน (Energy sector : EG)
turac.contributor.clientองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) (TGO)
turac.fieldOfStudyวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
cerif.cfProj-cfProjStatusสิ้นสุดโครงการ


Files in this item

FilesSizeFormatView

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record