Browsing by Subject "การขนส่ง"
Now showing items 1-3 of 3
-
การศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพในการขนส่งและกระจายผลิตภัณฑ์ โดยพัฒนาขั้นตอนวิธี และแบบจำลองทางคณิตศาสตร์สำหรับการจัดเที่ยวรถ (Vehicle Routing Problem Algorithm)
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)
ปัจจุบันการบริหารจัดการขนส่งและโซ่อุปทาน จัดเป็นเรื่องที่มีผลกระทบต่อวงการอุตสาหกรรมระดับประเทศทั้งทางด้านอุตสาหกรรมภาคการผลิตและอุตสาหกรรมภาคการบริการรัฐบาล ซึ่งการขนส่งจัดเป็นต้นทุนที่สำคัญตัวหนึ่งสำหรับอุตสาหกรรมในปัจจุบัน โดยหลักการสำคัญของการขนส่งคือการส่งที่ถูกสถานที่ด้วยเวลาที่เหมาะสม เพื่อตอบสนองความพึงพอใจของลูกค้ามากที่สุด เนื่องจากสภาพการแข่งขันที่สูงและความสลับซับซ้อนในภาคธุรกิจ ทำให้รูปแบบในการขนส่งสินค้ามีความหลากหลายและมีข้อจำกัดด้านการขนส่ง เช่น ต้องจัดส่งสินค้าให้ลูกค้าหลายแห่ง มีข้อจำกัด ด้านเวลา เนื่องจากความต้องการของลูกค้าข ... -
ศึกษาเพื่อพัฒนามาตรฐานความปลอดภัยในการขนส่งตู้บรรทุกสินค้าที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-06-10)
ปัจจุบันประเทศไทยมีการใช้รถพ่วง และรถกึ่งพ่วง ในการการขนส่งตู้บรรทุกสินค้าเป็นจำนวนมากเนื่องจากความได้เปรียบในการบรรทุก และการขนส่ง แต่เนื่องจากพฤติกรรมของพนักงานขับรถ การละเลยข้อปฏิบัติด้านความปลอดภัย การใช้ความเร็วสูง ความประมาท สภาพแวดล้อม รวมทั้งสภาพรถ สภาพอุปกรณ์ยึดตู้บรรทุกสินค้า และการใช้อุปกรณ์ยึดตู้บรรทุกสินค้าก่อให้เกิดปัญหาตู้บรรทุกสินค้าการหลุดร่วง ตกลงมาจากพื้นรถพ่วง และรถกึ่งพ่วง ซึ่งปัจจุบันประเทศไทยมีเฉพาะข้อบังคับในเรื่องขนาดรถ อุปกรณ์สลักยึดและตำแหน่งยึดอุปกรณ์สลักยึดตู้ แต่ยังไม่มีมาตรฐานที่ระบุถึง อุปกรณ์ยึด ตำแหน่งยึดอุปกรณ ... -
ศึกษาแผนพัฒนาสายทางเพื่อสนับสนุนการขนส่งสินค้าและบริการผ่านรถไฟทางคู่สายลพบุรี-ปากน้ำโพ และสายนครปฐม-หัวหิน
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2562)
ปัจจุบันรัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนการขนส่งหลายรูปแบบ (Multimodal Transportation) เพื่อเพิ่มศักยภาพและลดต้นทุนในการขนส่ง ซึ่งหนึ่งในโครงการที่สำคัญ คือ โครงการพัฒนาโครงข่ายรถไฟทางคู่สายลพบุรี – ปากน้ำโพ และ สายนครปฐม – หัวหิน อย่างไรก็ตาม พบว่าความสามารถในการเชื่อมโยงการขนส่งระหว่างแหล่งเพาะปลูกสินค้า แหล่งกองเก็บ จุดขนถ่ายสินค้า และสถานีรถไฟ รวมไปถึงแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ ไม่ได้รับการออกแบบให้สามารถรองรับปริมาณการขนส่งสินค้าและบริการที่เพิ่มสูงขึ้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำการศึกษาเส้นทางของกรมทางหลวงชนบท ที่มีศักยภาพรองรับการขนส่งที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต ...