Now showing items 1-3 of 3

    • type-icon

      การประเมินผลการดำเนินการตามทศวรรษคนพิการอาเซียน พ.ศ.2554-2563 เพื่อการขับเคลื่อนในระยะต่อไป 

      วิไลภรณ์ โคตรบึงแก (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-02-03)

      ประเทศไทย โดยกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนงานด้านคนพิการในระดับอาเซียน โดยเมื่อปี พ.ศ. 2554 ได้มีการยกร่างเอกสารหลักการของการประกาศทศวรรษคนพิการอาเซียนและแผนในการขับเคลื่อนทศวรรษคนพิการแห่งอาเซียน พ.ศ. 2554 - 2563: ปีแห่งการส่งเสริมการพัฒนางานด้านคนพิการแบบบูรณาการในอาเซียน (Concept Note and Mobilization Plan of ASEAN Decade for Persons with Disabilities: The Thematic Years to Promote Disability Inclusive Development in ASEAN) และนำเสนอต่อที่ประชุมเจ้าหน้าที่ระดับอาว ...
    • type-icon

      กำหนดแนวทางพัฒนารูปแบบและการบริหารจัดการในสถาบัน 

      ระพีพรรณ คำหอม (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-09-11)

      การวิจัยเรื่อง โครงการแนวทางพัฒนารูปแบบและการบริหารจัดการในสถาบัน กองคุ้มครองสวัสดิภาพและพัฒนาคนพิการ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและทบทวนรูปแบบการคุ้มครองสวัสดิภาพคนพิการในสถาบันที่เหมาะสมในแต่ละช่วงชีวิต พัฒนากระบวนการคุ้มครองสวัสดิภาพคนพิการที่มีประสทธิภาพและเหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงตามสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลง และเพื่อจัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนารูปแบบการคุ้มครองสวัสดิภาพคนพิการในสถาบัน ระเบียบวิธีการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ได้แก่ การสนทนากลุ่มย่อย และการสัมภาษณ์เชิงลึก ประชากรที่ศึกษาประกอบด้วยได้แก่ ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ของสถานคุ้มครองแล ...
    • type-icon

      ศึกษาแผนแม่บทผังวิสัยทัศน์ย่านการเรียนรู้ด้านคนพิการในพื้นที่อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 

      ชุมเขต แสวงเจริญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2565-04-26)

      จากข้อมูลทางสถิติของกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (พก.) ด้านการสำรวจจำนวนคนพิการในประเทศไทย ปี 2562 พบว่า มีจำนวนคนพิการทั้งสิ้น จำนวน 1,995,767 คน คิดเป็นร้อยละ 3.01 ของประชากรทั้งประเทศ โดยในแต่ละปีจำนวนคนพิการได้เพิ่มมากขึ้น และมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่กลุ่มคนพิการยังไม่สามารถเข้าถึงสิทธิ สวัสดิการ การเรียนรู้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ทำให้เกิดความจำเป็นอย่างยิ่งต่อขับเคลื่อน พัฒนา และขยายผลเพื่อรองรับสถานการณ์ดังกล่าว เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการเรียนรู้ ส่งผลให้มีคุณภาพที่ดีขึ้น และเกิดความเท่าเทียมกับคนทุกคนในสังคม ...