Browsing by Project Type "โครงการที่ปรึกษา"
Now showing items 1-20 of 272
-
Carbon Footprint Verification Year 2017
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-06-19)
ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนนั้น เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร (Carbon Footprint for Organization) จึงเป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ได้ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรเป็นการวัดผลกระทบด้านภาวะโลกร้อนที่ปล่อยจากกิจกรรม ... -
Clustered water characterization
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-04-28)
งานวิจัยนี้ได้ศึกษาลักษณะของกลุ่มน้ำโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ต่างๆ ประกอบด้วย ออกซิเจนนิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนซ์สเปกโทรสโกปี (17O-NMR), ฟูเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปกโทรสโกปี (FT-IR), อินดักทีฟ คับเปิล พลาสมา แมสสเปกโตรเมตทรี (ICP-MS) และไอออนโครมาโตกราฟี (IC) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของกลุ่มน้ำที่เกิดจากการเติมหินออบซิเดียนไป โดยวิเคราะห์ด้วยเทคนิค 17O-NMR ผลการศึกษาพบว่า การเติมหินออบซิเดียนจะไปลดความกว้างของพีค (FWHM) สำหรับน้ำที่ผ่านการบำบัดและปริมาตรของกลุ่มโมเลกุลของน้ำ นอกจากนี้ยังได้ตรวจสอบความสามารถในการละลายน้ำและการผลิตไฮโดรเจน (H2) ... -
COPACABANA PATTAYA เพื่อทำการศึกษาแรงลม โดยวิธีทดสอบจำลองในอุโมงค์ลม
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-12-09)
รายละเอียดตามเอกสารแนบ -
กฎหมายเกี่ยวกับการกำหนดให้รัฐเข้าถึง หรือได้มาซึ่งข้อมูลที่บุคคลสื่อสารถึงกัน :กรณีศึกษาต่างประเทศภายใต้โครงการศึกษาร่างกฎหมายที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาประเทศ ตามหัวข้อ การให้รัฐเข้าถึงและได้มาซึ่งข้อมูลที่บุคคลสื่อสารถึงกันในสาธารณรัฐฝรั่งเศส
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2562)
เข้าถึงข้อมูลได้ที่เว็บไซต์ของสถาบัน http://kpi.ac.th/knowledge/research/data/203 -
การคัดกรองโรคมะเร็งผิวหนังจากภาพถ่ายบนอุปกรณ์สมาร์ทโฟน
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-08-28)
งานวิจัยนี้นำเสนอระบบรู้จำมะเร็งผิวหนังเมลาโนมาอย่างอัตโนมัติโดยใช้โครงข่ายประสาทสังวัตนาการเดนซ์เน็ต (Densely Connected Convolutional Network: DenseNet121) และโครงข่าย Wasserstein Generative Adversarial Network (WGAN-GP) ในการสร้างภาพรอยโรคผิวหนังเทียมเพื่อใช้เพิ่มประสิทธิภาพในการฝึกฝนโครงข่ายที่มีจำนวนข้อมูลในการฝึกฝนน้อย วัตถุประสงค์หลักของงานวิจัยนี้คือ การสนับสนุนการตรวจคัดกรองและวินิจฉัยมะเร็งผิวหนังโดยใช้ภาพถ่ายรอยโรคผิวหนัง โครงข่าย DenseNet121 ถูกนำมาใช้และประเมินผลเปรียบเทียบกับโครงข่ายเรสเน็ต (Deep Residual Neural Network: ResNet50) ... -
การจัดทำรายงานการพัฒนาเด็กและเยาวชน ประจำปี 2561
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-04-14)
รายงานสถานการณ์การพัฒนาเด็กและเยาวชน พ.ศ. 2561 นำเสนอสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเด็กและเยาวชนที่เกิดขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมสถานการณ์ที่สำคัญในช่วง พ.ศ. 2559-2561 เพื่อเปรียบเทียบสถานการณ์และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงการพัฒนาเด็กและเยาวชนซึ่งจะนำไปสู่การวิเคราะห์และวางแผนงานด้านการพัฒนาเด็กและเยาวชนได้ สามารถสรุปผลที่ปรากฏในรายงานฉบับนี้ได้ดังนี้ สถานการณ์เด็กและเยาวชน ประกอบไปด้วย ประชากรเด็กและเยาวชนในปี พ.ศ. 2561 พบว่า มีแนวโน้มลดลงจากช่วงสองปีที่ผ่านมา โดยลดลง 319,021 คนและการกระจุกตัวการเกิดของเด็กอยู่ในภาคกลางมาก ... -
การจัดทำรายงานผลการศึกษาและวิเคราะห์ โครงการศูนย์คมนาคมขนส่งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดสงขลาตามพระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2556
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-05-07)
โครงการศูนย์คมนาคมขนส่งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดสงขลา จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาพื้นที่โครงการฯ จำนวนประมาณ 126 ไร่ ซึ่งห่างจากบริเวณชายแดนไทย-มาเลเซียบริเวณด่านสะเดาประมาณ 2.4 กม. เพื่อรองรับและอำนวยความสะดวกให้กับการเดินทางของประชาชนและนักท่องเที่ยวรวมทั้งการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศไทยและประเทศมาเลเซีย ในการศึกษาได้พิจารณาดำเนินโครงการตามพระราชบัญญัติการให้เอกชนร่วมลงทุนระหวางรัฐและเอกชน พ.ศ. 2562 โดยรูปแบบการพัฒนาภายในโครงการฯ แบ่งการพัฒนาพื้นที่เป็น 5 โซน โซนที่ 1 สถานีขนส่งผู้โดยสาร โซนที่ 2 สำนักงานและศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ... -
การจัดทำรายละเอียดโครงการ Architectural Programming และข้อมูลเพื่อการออกแบบ Design Brief ภายใต้โครงการเตรียมการจัดตั้งและออกแบบศูนย์การเรียนรู้แห่งชาติ National Knowledge Center : NKC
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-08-07)
สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ ได้ดำเนินการด้านการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้และองค์ความรู้มาอย่างยาวนานกว่า 13 ปี ทำให้เห็นถึงความสำคัญของศูนย์การเรียนรู้ที่มีบทบาทระดับประเทศทันสมัยและสอดคล้องกับวิถีชีวิตและพฤติกรรของคนในยุคปัจจุบัน จึงได้ดำเนินการจัดทำรายละเอียดโครงการ และข้อมูลเพื่อการออกแบบภายใต้โครงการเตรียมการจัดตั้งและออกแบบศูนย์การเรียนรู้แห่งชาติขึ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลความต้องการการใช้พื้นที่และปัญหาการใช้พื้นที่เดิมกำหนดพื้นที่ใช้สอยที่เหมาะสมกับพื้นที่ใหม่ กำหนดแนวทางการใช้พื้นที่ของศูนย์การเรียนรู้แห่งช ... -
การจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาการสร้างความร่วมมือด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนระหว่างเมือง ในรูปแบบเมืองแฝด (Twin Cities) ระดับนานาชาติ ด้วยวิธีคัดเลือก
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)
ความสัมพันธ์เมืองแฝด/เมืองพี่เมืองน้องนั้นเป็นความสัมพันธ์ในระดับที่เท่าเทียมกันระหว่างจังหวัดของไทยกับจังหวัด (หรือ เมืองหรือชื่อเรียกอีกอย่างที่มีฐานะเทียบเท่ากับจังหวัดไทย เช่น มลรัฐ มณฑล นคร) ของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก โดยมีจุดมุ่งหมายในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ความร่วมมืออันดีต่อกันและมีการแลกเปลี่ยนกันในด้านต่าง ๆ โดยทั่วไป เช่น ด้านการศึกษา การสาธารณสุข การท่องเที่ยว อุตสาหกรรม เป็นต้น เมืองที่จะสามารถเป็นเมืองแฝด/เมืองพี่เมืองน้องได้นั้น จำเป็นต้องมีความคล้ายคลึงกันในด้านต่าง ๆ เช่น ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต/ความเป็นอยู่ ... -
การเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยและติดตามดูแลภายหลังปล่อย
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-05-19)
การวิจัยเรื่อง “การเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยและติดตามดูแลภายหลังปล่อย” เป็นการศึกษาถึงแนวทางและวิธีการที่ได้ผลและเกิดประสิทธิภาพในการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยและการติดตามภายหลังปล่อยให้กับผู้ต้องขัง เพื่อเป็นต้นแบบที่ดีให้กับกรมราชทัณฑ์ได้นำไปปรับใช้ต่อไป โดยวัตถุประสงค์ในการศึกษาวิจัยนี้คือ เพื่อศึกษาปัญหาและอปสรรคในการเตรียมความพร้อมก่อนปลอยและการดูแลภายหลังปล่อยในปัจจุบัน และเพื่อศึกษาแนวทางการสงเคราะห์ในการเตรียมความพร้อมก่อนปล่อยและการติดตามภายหลังปล่อยที่สอดคล้องกับสภาพของผู้ต้องขังในยุคปัจจุบัน วิธีการศึกษา เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ... -
การทวนสอบการประเมิน Carbon Neutral Event ของงานพิธีปิดโครงการลดเมืองร้อนด้วยมือเราปีที่ 13 ภายใต้โครงการโตโยต้าเมืองสีเขียว
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-02-05)
ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนนั้น เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์ (Carbon Footprint) จึงเป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ได้ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์เป็นการวัดผลกระทบด้านภาวะโลกร้อนที่ปล่อยจากกิจกรรมที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานขอ ... -
การทวนสอบการประเมิน Carbon Neutral Event งาน mai FORUM 2019 และงาน COMMART JOY 2019
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-02-05)
ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนนั้น เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์ (Carbon Footprint) จึงเป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆของมนุษย์ได้ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์เป็นการวัดผลกระทบด้านภาวะโลกร้อนที่ปล่อยจากกิจกรรมที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานของ ... -
การทวนสอบคาร์บอนฟุตพริ้นท์ของผลิตภัณฑ์
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-02-20)
ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนนั้น เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร (Carbon Footprint for Organization) จึงเป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ได้ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรเป็นการวัดผลกระทบด้านภาวะโลกร้อนที่ปล่อยจากกิจก ... -
การทวนสอบคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร บริษัท ไทยออพติคอล กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-02-26)
ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนนั้น เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร (Carbon Footprint for Organization) จึงเป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ได้ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรเป็นการวัดผลกระทบด้านภาวะโลกร้อนที่ปล่อยจากกิจก ... -
การทวนสอบคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กรสำหรับโรงงานผลิตก๊าซโพรพิลีน
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-08-13)
ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนนั้น เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร (Carbon Footprint for Organization) จึงเป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆของมนุษย์ได้ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรเป็นการวัดผลกระทบด้านภาวะโลกร้อนที่ปล่อยจากกิจกรรมท ... -
การประเมินความต้องการหลังเกิดสาธารณภัย (Post - Disaster Needs Assessment :PDNA) เพื่อจัดทำกรอบการฟื้นฟูหลังเกิดสาธารณภัย (Post Disaster Recovery Framework :PDRF)
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-05-26)
โครงการศึกษาวิจัยการประเมินความต้องการหลังเกิดสาธารณภัย (Post Disaster Needs Assessment: PDNA) เพื่อจัดทำกรอบการฟื้นฟูหลังเกิดสาธารณภัย (Post Disaster Recovery Framework: PDRF) มี วัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการประเมินความต้องการหลังเกิดสาธารณภัย และกรอบการฟื้นฟูหลังเกิดสาธารณภัยให้แก่บุคลากรกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและหน่วยงานภาคี เครือข่ายที่เกี่ยวข้องให้สามารถประเมินความต้องการหลังเกิดสาธารณภัยตามแบบฟอร์มมาตรฐานสากล เพื่อจัดทำฐานข้อมูลการประเมินความต้องการหลังเกิดสาธารณภัย (PDNA baseline data) เพื่อให้ประเทศมี ... -
การประเมินความเสี่ยงในการเป็นโรคมะเร็งผิวหนังจากภาพถ่ายโดยใช้กฎ ABCD ในรูปแบบแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-08-28)
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธีการประเมินความเสี่ยงในการเป็นโรคมะเร็งผิวหนังจากภาพถ่ายโดยใช้กฎ ABCD กล่าวคือ A คือ ความไม่สมมาตรของรอยโรคผิวหนัง (Asymmetry) B คือ ลักษณะขอบของรอยโรคผิวหนัง (Border) C คือ สีของโรยโรคผิวหนัง (Color) และ D คือ ลักษณะโครงสร้างของรอยโรคผิวหนัง (Dermoscopic Structure) ในรูปแบบแอปพลิเคชันบนสมาร์ตโฟน โดยขั้นตอนวิธีการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งผิวหนังจากภาพถ่ายรอยโรคโดยใช้การประมวลผลภาพดิจิทัล การเรียนรู้เชิงลึกและการเรียนรู้เครื่อง ในการสกัดลักษณะเด่นจากภาพถ่ายรอยโรคและจำแนกประเภทรอยโรคผิวหนังว่าเป็นเ ... -
การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นขององค์กร
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-01-21)
ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนนั้น เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร (Carbon Footprint for Organization) จึงเป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆของมนุษย์ได้ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรเป็นการวัดผลกระทบด้านภาวะโลกร้อนที่ปล่อยจากกิจกรรมท ... -
การประเมินผลโครงการประชาสัมพันธ์การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสังคมสูงวัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-01-18)
การประเมินผลโครงการประชาสัมพันธ์การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสังคมสูงวัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 นี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยมีแบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากกลุ่มเป้าหมายจำนวน 1,100 คน โดยจำแนกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ กลุ่มแรกเป็นประชากรก่อนวัยสูงอายุ (อายุ 12 - 59 ปี) ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ เยาวชนและประชาชนทั่วไป อายุ 12 - 49 ปี จำนวน 331 คน และประชาชนทั่วไป อายุ 50 - 59 ปี จำนวน 529 คน ส่วนกลุ่มที่สองเป็นประชากรสูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) จำนวน 240 คน ประสิทธิผลของโครงการประชาสัมพันธ์การเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสังคมสูงวัย ... -
การประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการขับเคลื่อนประเด็น
(สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-12-30)
โครงการการประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการขับเคลื่อนประเด็น “สารเคมีการเกษตร” ของไทยพีบีเอส มีวัตถุประสงค์ คือ1) เพื่อประเมินผลกระทบทางสังคม (Social Impact) จากการขับเคลื่อนประเด็น “สารเคมีการเกษตร” ของไทยพีบีเอส 2) เพื่อประเมินความคุ้มค่าและผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุนในการขับเคลื่อนประเด็น “สารเคมีการเกษตร” ของไทยพีบีเอส 3) เพื่อวิเคราะห์แนวทางและข้อเสนอแนะในการขับเคลื่อนประเด็นทางสังคมที่เหมาะสมสำหรับสื่อสาธารณะ โดยศึกษาและวิเคราะห์การปฏิบัติงานขององค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะจากเอกสาร “สารเคมีเกษตรและพาราควอต ปี 2562” Executive Summary ...