Browsing by Author "สุพจน์ ชววิวรรธน์"
Now showing items 1-11 of 11
-
ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 256 กลุ่มที่ 8
สุพจน์ ชววิวรรธน์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-04-29)
การประเมินโครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กลุ่มที่ 8 ประกอบด้วยจังหวัดกระบี่ ชุมพร นครศรีธรรมราช พังงา ภูเก็ต ระนองและสุราษฎร์ธานี จำนวนทั้งสิ้น 573 พบว่า หน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมินมีการดำเนินการตามขั้นตอนที่กำหนดได้อย่างครบถ้วนทุกตัวชี้วัด แต่ยังมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับแนวทางการตอบแบบวัดของแต่ละตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินอยู่มาก ดังจะเห็นได้จากผลคะแนนการประเมินที่ผ่านเกณฑ์เป้าหมายที่ร้อยละ 85 มีจำนวนเพียง 40 หน่วยงานหรือร้อยละ 7 ซึ่งถือว่ายังห่างไกลจากเป้าหมายของรัฐบาลท ... -
ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กลุ่มที่ 1
สุพจน์ ชววิวรรธน์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-04-29)
การประเมินโครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กลุ่มที่ 1 ประกอบด้วยจังหวัดชัยนาท นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สมุทรปราการ สระบุรี สิงห์บุรีและอ่างทอง จำนวนทั้งสิ้น 729 หน่วยงาน พบว่า หน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมินมีการดำเนินการตามขั้นตอนที่กำหนดได้อย่างครบถ้วนทุกตัวชี้วัด แต่ยังมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับแนวทางการตอบแบบวัดของแต่ละตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินอยู่มาก ดังจะเห็นได้จากผลคะแนนการประเมินที่ผ่านเกณฑ์เป้าหมายที่ร้อยละ 85 มีจำนวนเพียง 59 หน่วยงานหรือร้อยละ 9.53 ... -
ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กลุ่มที่ 10
สุพจน์ ชววิวรรธน์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-04-29)
การประเมินโครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กลุ่มที่ 10 ประกอบด้วยหน่วยงานภาครัฐส่วนกลางในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรีและกระทรวง รวมถึงหน่วยงานที่ไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ (กรุงเทพมหานคร) จำนวนทั้งสิ้น 377 หน่วยงาน พบว่า หน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมินมีการดำเนินการตามขั้นตอนที่กำหนดได้อย่างครบถ้วนทุกตัวชี้วัด แต่ยังมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับแนวทางการตอบแบบวัดของแต่ละตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินอยู่มาก ดังจะเห็นได้จากผลคะแนนการประ ... -
ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กลุ่มที่ 2
สุพจน์ ชววิวรรธน์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-04-29)
การประเมินโครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กลุ่มที่ 2 ประกอบด้วย จังหวัดจันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด นครนายก ปราจีนบุรี ระยอง และสระแก้ว และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ (เมืองพัทยา) จำนวนทั้งสิ้น 592 หน่วยงาน พบว่า หน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมินมีการดำเนินการตามขั้นตอนที่กำหนดได้อย่างครบถ้วนทุกตัวชี้วัด แต่ยังมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับแนวทางการตอบแบบวัดของแต่ละตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินอยู่มาก ดังจะเห็นได้จากผลคะแนนการประเมินที่ผ่านเกณฑ์เป้าหมายที่ร้อยละ 85 มีจำนวนเพียง ... -
ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กลุ่มที่ 3
สุพจน์ ชววิวรรธน์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-04-29)
การประเมินโครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กลุ่มที่ 3 ประกอบด้วย จังหวัดชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ ยโสธร ศรีสะเกษ สุรินทร์ อุบลราชธานี และอำนาจเจริญ จำนวนทั้งสิ้น 1,475 หน่วยงาน พบว่า หน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมินมีการดำเนินการตามขั้นตอนที่กำหนดได้อย่างครบถ้วนทุกตัวชี้วัด แต่ยังมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับแนวทางการตอบแบบวัดของแต่ละตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินอยู่มาก ดังจะเห็นได้จากผลคะแนนการประเมินที่ผ่านเกณฑ์เป้าหมายที่ร้อยละ 85 มีจำนวนเพียง 63 หน่วยงานหรือร้อยละ 4.27 ... -
ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กลุ่มที่ 4
สุพจน์ ชววิวรรธน์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-04-29)
การประเมินโครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กลุ่มที่ 4 ประกอบด้วย จังหวัดกาฬสินธุ์ ขอนแก่น นครพนม บึงกาฬ มหาสารคาม มุกดาหาร ร้อยเอ็ด เลย สกลนคร หนองคาย หนองบัวลำภูและอุดรธานี จำนวนทั้งสิ้น 1,512 หน่วยงาน พบว่าหน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมินมีการดำเนินการตามขั้นตอนที่กำหนดได้อย่างครบถ้วน ทุกตัวชี้วัด แต่ยังมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับแนวทางการตอบแบบวัดของแต่ละตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินอยู่มาก ดังจะเห็นได้จากผลคะแนนการประเมินที่ผ่านเกณฑ์เป้าหมายที่ร้อยละ 85 มีจำนวนเพียง 126 ... -
ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กลุ่มที่ 9
สุพจน์ ชววิวรรธน์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-04-29)
การประเมินโครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กลุ่มที่ 9 ประกอบด้วยจังหวัดตรัง นราธิวาส ปัตตานี พัทลุง ยะลา สงขลา และสตูล จำนวนทั้งสิ้น 631 หน่วยงาน พบว่า หน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมินมีการดำเนินการตามขั้นตอนที่กำหนดได้อย่างครบถ้วนทุกตัวชี้วัด แต่ยังมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับแนวทางการตอบแบบวัดของแต่ละตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินอยู่มาก ดังจะเห็นได้จากผลคะแนนการประเมินที่ผ่านเกณฑ์เป้าหมายที่ร้อยละ 85 มีจำนวนเพียง 77 หน่วยงานหรือร้อยละ 12.20 ซึ่งถือว่ายังห่างไกลจากเป้าหมายของรัฐบาลท ... -
ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563กลุ่มที่ 5
สุพจน์ ชววิวรรธน์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-04-29)
การประเมินโครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กลุ่มที่ 5 ประกอบด้วยจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ น่าน แพร่ พะเยา แม่ฮ่องสอน ลำปาง และลำพูน จำนวนทั้งสิ้น 830 หน่วยงาน พบว่าหน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมินมีการดำเนินการตามขั้นตอนที่กำหนดได้อย่างครบถ้วนทุกตัวชี้วัด แต่ยังมีความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับแนวทางการตอบแบบวัดของแต่ละตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินอยู่มาก ดังจะเห็นได้จากผลคะแนนการประเมินที่ผ่านเกณฑ์เป้าหมายที่ร้อยละ 85 มีจำนวนเพียง 43 หน่วยงานหรือร้อยละ 5.18 ซึ่งถือว่ายังห่างไกลจากเป้าหมา ... -
ศึกษาข้อดีข้อเสีย การกำหนดเงื่อนไข และวิธีการประมูลโดยใช้การแข่งขันเสนอราคาค่าบริการต่ำที่สุดเป็นเกณฑ์ในการตัดสินคัดเลือกหาผู้ชนะการประมูลที่ไอซีดีลาดกระบัง
สันติชัย คชรินทร์; สุพจน์ ชววิวรรธน์; นนทวรรณ ยมจินดา (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาข้อดี ข้อเสีย การกำหนดเงื่อนไข และวิธีการประมูลโดยใช้หลักเกณฑ์การแข่งขันเสนออัตราค่าภาระใช้บริการต่ำที่สุด เป็นเกณฑ์ตัดสิน (2) เพื่อหาแนวทางการเพิ่มส่วนแบ่งตลาดการขนส่งทางรถไฟระหว่าง ไอซีดี ที่ลาดกระบังและท่าเรือแหลมฉบัง (3) เพื่อประเมินความสัมพันธ์ระหว่างการรับภาระการลงทุนของภาคเอกชนที่เพิ่มขึ้น อัตราค่าเช่าพื้นที่สัมปทาน และระยะเวลาของอายุสัญญาสัมปทาน และ (4) เพื่อประเมินความเสี่ยงและเสนอแนะแนวทางการบริหารความเสี่ยงของการดำเนินโครงการ วิธีการศึกษาเป็นการทบทวนหนังสือราชการ สัญญาและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ... -
ศึกษาวิเคราะห์ความเหมาะสมเพื่อกำหนดรูปแบบลักษณะการลงทุน และกรอบการอุดหนุน โครงการด้านโครงสร้างพื้นฐานและบริการระบบขนส่ง สำหรับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พัชรา พัชราวนิช; สกนธ์ วรัญญูวัฒนา; ศุภชัย ศรีสุชาติ; อาณัติ ลีมัคเดช; สุพจน์ ชววิวรรธน์; สุรพล นิติไกรพจน์; นครินทร์ เมฆไตรรัตน์; ดิชพงศ์ พงศ์ภัทรชัย; สุลักษมณ์ ภัทรธรรมมาศ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)
การศึกษาวิเคราะห์ความเหมาะสมเพื่อกำหนดรูปแบบลักษณะการลงทุนและกรอบการอุดหนุน โครงการด้านโครงสร้างพื้นฐานและบริการระบบขนส่ง สำหรับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่า การลงทุนโครงการด้านโครงสร้างพื้นฐานและบริการระบบขนส่งมี 3 รูปแบบ คือ รัฐดำเนินการเอง รัฐร่วมลงทุนกับเอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินการเอง การวิเคราะห์เริ่มจาก 1. ศึกษาและวิเคราะห์อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายของหน่วยงานต่างๆในภาครัฐ 2. การพัฒนาหลักเกณฑ์และรูปแบบการลงทุน โดยวิเคราะห์ความเป็นสาธารณะและวิเคราะห์ความเหมาะสมในการลงทุน 4 ขั้นตอน คือ ความจำเป็นของโครงการ ... -
ศึกษาเพื่อยกระดับการพัฒนาประสิทธิภาพระบบโครงข่ายการขนส่งสินค้าชายฝั่งของไทย
สุพจน์ ชววิวรรธน์; พรายพล คุ้มทรัพย์; ธรรมวิทย์ เทอดอุดมศักดิ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)
ปัจจุบันประเทศไทยมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ทั้งภาคอุตสาหกรรมภาคเกษตรกรรมและภาคบริการ (ท่องเที่ยว) ก่อให้เกิดการเจริญเติบโตของเมืองอย่างรวดเร็ว มีการใช้พลังงานในภาคเศรษฐกิจต่างๆ เป็นจำนวนมาก ในปี พ.ศ. 2558 การใช้พลังงานในภาคขนส่งและภาคอุตสาหกรรมมีสัดส่วนมากที่สุดและใกล้เคียงกันประมาณร้อยละ 36.2 และร้อยละ 35.8 ตามลำดับ โดยการใช้พลังงานในภาคคมนาคมขนส่งของประเทศมีรูปแบบการขนส่งทางถนนสูงสุดมากถึงร้อยละ 80.9 การใช้พลังงานที่เน้นหนักไปในการขนส่งทางถนนเช่นนี้เป็นรูปแบบการขนส่งที่มีการใช้พลังงานสูงอย่างไม่มีประสิทธิภาพซึ่งนอกจากจะทำให้ต้นทุนค่าขนส่งและต้น ...