Browsing by Author "สกนธ์ วรัญญูวัฒนา"
Now showing items 1-8 of 8
-
ผลการศึกษาเรื่องการให้ความช่วยเหลือแก่ชุมชนและหมู่บ้านในรูปแบบกองทุนเงินทุนหมุนเวียนและเงินอุดหนุนเพื่อพัฒนาอาชีพและส่งเสริมรายได้
วุฒิสาร ตันไชย; สกนธ์ วรัญญูวัฒนา; ธีรเดช ฉายอรุณ; โกวิทย์ พวงงาม; กมลทิพย์ แจ่มกระจ่าง; อุ่นกัง แซ่ลิ้ม; สนิท รวมธรรม; ธีรพรรณ ใจมั่น; สุณิสา เผ่าน้อย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2010) -
ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัด กลุ่มจังหวัดภาคใต้ พ.ศ. 2549-2552
สกนธ์ วรัญญูวัฒนา; ไพรัช บวรสมพงษ์; สมศรี ศิริขวัญชัย; พงษ์ธร วราศัย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2007)
โครงการการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัดภาคใต้รวม 5 กลุ่ม ดำเนินการเพื่อสนับสนุนให้จังหวัดจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวจังหวัดพ.ศ. 2549-2552 เป็นกรอบในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างเป็นระบบและยั่งยืน กำหนดทิศทางการพัฒนาการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัดและบูรณาการแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเข้ากับแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานต่างๆ -
ศึกษาวิเคราะห์ความเหมาะสมเพื่อกำหนดรูปแบบลักษณะการลงทุน และกรอบการอุดหนุน โครงการด้านโครงสร้างพื้นฐานและบริการระบบขนส่ง สำหรับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พัชรา พัชราวนิช; สกนธ์ วรัญญูวัฒนา; ศุภชัย ศรีสุชาติ; อาณัติ ลีมัคเดช; สุพจน์ ชววิวรรธน์; สุรพล นิติไกรพจน์; นครินทร์ เมฆไตรรัตน์; ดิชพงศ์ พงศ์ภัทรชัย; สุลักษมณ์ ภัทรธรรมมาศ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)
การศึกษาวิเคราะห์ความเหมาะสมเพื่อกำหนดรูปแบบลักษณะการลงทุนและกรอบการอุดหนุน โครงการด้านโครงสร้างพื้นฐานและบริการระบบขนส่ง สำหรับส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พบว่า การลงทุนโครงการด้านโครงสร้างพื้นฐานและบริการระบบขนส่งมี 3 รูปแบบ คือ รัฐดำเนินการเอง รัฐร่วมลงทุนกับเอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินการเอง การวิเคราะห์เริ่มจาก 1. ศึกษาและวิเคราะห์อำนาจหน้าที่ตามกฎหมายของหน่วยงานต่างๆในภาครัฐ 2. การพัฒนาหลักเกณฑ์และรูปแบบการลงทุน โดยวิเคราะห์ความเป็นสาธารณะและวิเคราะห์ความเหมาะสมในการลงทุน 4 ขั้นตอน คือ ความจำเป็นของโครงการ ... -
เสริมสร้างประสิทธิภาพความสัมพันธ์ระหว่างส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่นโดยผ่านกระบวนการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนาท้องถิ่น
สกนธ์ วรัญญูวัฒนา (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)
Putting into practice with current budgeting system still lacks integration and connection between central ministry/department, provincial and local administration. Moreover, community organization and civil society cannot link its plan to the governmental plan explicitly. Office of The National Economic and Social Development Board, therefore, initiates the project of improving efficiency in the connection between the central, regional and local administration through the process of designing provincial and local plan. To achieve its purposes, ... -
แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัด กลุ่มจังหวัดภาคกลาง พ.ศ. 2549-2552
สกนธ์ วรัญญูวัฒนา; ไพรัช บวรสมพงษ์; สมศรี ศิริขวัญชัย; พงษ์ธร วราศัย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2007)
โครงการการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัดภาคกลางรวม 5 กลุ่มดำเนินการเพื่อสนับสนุนให้จังหวัดจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวจังหวัดพ.ศ. 2549-2552 เป็นกรอบในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างเป็นระบบและยั่งยืน กำหนดทิศทางการพัฒนาการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัดและบูรณาการแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเข้ากับแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานต่างๆ -
แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัด กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก พ.ศ. 2549-2552
สกนธ์ วรัญญูวัฒนา; ไพรัช บวรสมพงษ์; สมศรี ศิริขวัญชัย; พงษ์ธร วราศัย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2007)
โครงการการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกรวม 4 จังหวัด ดำเนินการเพื่อสนับสนุนให้จังหวัดจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวจังหวัด พ.ศ. 2549-2552 เป็นกรอบในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างเป็นระบบและยั่งยืน กำหนดทิศทางการพัฒนาการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัดและบูรณาการแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเข้ากับแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานต่าง ๆ -
แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัด กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. 2549-2552
สกนธ์ วรัญญูวัฒนา; ไพรัช บวรสมพงษ์; สมศรี ศิริขวัญชัย; พงษ์ธร วราศัย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2007)
โครงการการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือรวม 5 กลุ่ม ดำเนินการเพื่อสนับสนุนให้จังหวัดจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวจังหวัดพ.ศ. 2549-2552 เป็นกรอบในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างเป็นระบบและยั่งยืน กำหนดทิศทางการพัฒนาการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัดและบูรณาการแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเข้ากับแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานต่าง ๆ -
แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัด กลุ่มจังหวัดภาคเหนือ พ.ศ. 2549-2552
สกนธ์ วรัญญูวัฒนา; ไพรัช บวรสมพงษ์; สมศรี ศิริขวัญชัย; พงษ์ธร วราศัย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2007)
โครงการการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวกลุ่มจังหวัด 19 จังหวัดในภาคเหนือดำเนินการเพื่อสนับสนุนให้จังหวัดจัดทำแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวจังหวัดพ.ศ. 2549-2552 เป็นกรอบในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างเป็นระบบ กำหนดทิศทางการพัฒนาการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัดและบูรณาการแผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวเข้ากับแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานต่างๆ