Now showing items 21-40 of 466

    • Thumbnail

      การจัดทำฉลากคาร์บอนสำหรับอุตสาหกรรมยางพาราและอุตสาหกรรมอื่นๆ ประจำปีงบประมาณ 2557 ณ จังหวัดสงขลา 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)
    • type-icon

      การจัดทำฐานข้อมูลแบบ Gate to Gate และ Cradle to Gate ของอุตสาหกรรมหม่อนไหม (ไหมหัตถกรรม) 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      ในปัจจุบันการเติบโตและขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ รวมถึงการพัฒนาเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม และการบริโภคสินค้าและบริการเพื่อตอบสนองความต้องการพื้นฐานและอานวยความสะดวกแก่มนุษย์ ประเทศไทยก็เช่นเดียวกันที่มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจนั้นอย่างหนึ่งคือ สินค้าส่งออก ซึ่งสินค้าส่งออกที่ประเทศไทยมีการผลิตตั้งแต่ต้นสายจนถึงปลายสาย ชนิดหนึ่ง คือ สินค้าจากภูมิปัญญาพื้นบ้าน เช่น ไหมและผลิตภัณฑ์จากไหม เป็นต้น อุตสาหกรรมหม่อนไหม ...
    • type-icon

      การจัดทำบัญชีอัตราโทษ ศึกษากรณีคดียาเสพติด 

      ศักดิ์ชัย เลิศพานิชพันธุ์; ชลธิชา พันธุ์พานิช (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      การศึกษาวิจัย เรื่อง “การจัดทำบัญชีอัตราโทษ ศึกษากรณีคดียาเสพติด” มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อศึกษาบัญชีอัตราโทษของประเทศต่าง ๆ ในคดียาเสพติด เพื่อศึกษาถึงบัญชีอัตราโทษในคดียาเสพติดของศาลไทย และเพื่อจัดทำบัญชีอัตราโทษในคดียาเสพติดที่สอดคล้องกับสภาพของการกระทำผิดและภาวะทางเพศสภาพ ขอบเขตการศึกษา จะศึกษาเฉพาะคดียาเสพติด และศึกษาจากคำพิพากษาในคดียาเสพติดที่สิ้นสุดแล้วโดยมี วิธีการศึกษามีดังนี้ ได้แก่ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับกับบัญชีอัตราโทษในคดียาเสพติดทั้งในและต่างประเทศ ศึกษาคำพิพากษาคดียาเสพติดที่สิ้นสุดแล้ว เพื่อสืบค้นที่มาของการกำหนดบัญชีอัตราโทษ ...
    • type-icon

      การจัดทำองค์ความรู้ผลงานประดิษฐ์คิดค้น เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อการเผยแพร่ 

      พรจิต สมบัติพานิช (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2015)

      “โครงการจัดทำองค์ความรู้ผลงานประดิษฐ์คิดค้น เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการเผยแพร่” ที่จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ผลงานสิ่งประดิษฐ์คิดค้นและนวัตกรรมที่สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ส่งเสริมให้เผยแพร่สู่สายตาผู้ที่สนใจ และประชาชนทั่วไป 2) เพื่อกระตุ้นให้ผู้ที่สนใจ และประชาชนทั่วไปได้นำเอาผลผลงานสิ่งประดิษฐ์คิดค้นและนวัตกรรมไปสู่การใช้ประโยชน์ และ 3) เพื่อกระตุ้นให้นักวิจัย นักประดิษฐ์ เยาวชน และนักเรียน เกิดความต้องการที่จะสร้างสรรค์ผลงานประดิษฐ์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ให้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ จากการดำเนินง ...
    • type-icon

      การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของกรมการข้าว พ.ศ.2558-2562 

      สุพิณ เกชาคุปต์; Kachacupt, Supin (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ร่วมมือกับสถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (TU-RAC) จัดทำแผนยุทธศาสตร์ของกรมการข้าว พ.ศ. 2558-2562 เพื่อใช้เป็นทิศทางในการทำงานและเป็นกรอบการปฏิบัติงานของกรมการข้าว การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ดังกล่าว ประกอบด้วยรายละเอียดที่สำคัญ คือ การกำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) เป้าประสงค์ (Goals) การวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และภัยคุกคามขององค์กรโดยใช้เทคนิค SWOT Analysis การวิเคราะห์สถานการณ์การตลาดผลิตภัณฑ์ ข้าวไทยโดยใช้เทคนิค BCG Matrix และกำหนดกลยุทธ์โครงการและตัวชี้ว ...
    • type-icon

      การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2560-2564) และแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ.2561-2564) 

      อัมพร ธำรงลักษณ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2560 – 2564) และแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ. 2561 – 2564) โดยได้ทำการศึกษาทบทวนยุทธศาสตร์ของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาในปัจจุบัน วิเคราะห์ข้อมูลแนวโน้มและทิศทางของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาจากเอกสารข้อมูลที่มีอยู่จากสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภาและจากแบบเก็บข้อมูลผลประมวลแบบสอบถามจากบุคลากรทั้งหมด ผลจากการประชุมกลุ่มย่อยกับผู้บริหารระดับสูง การประชุมระดมสมองร่วมกับผู้บังคับบัญชากลุ่มงาน และผลการประชุมรับฟังความคิดเห็นจากผู้บริหารระดับสูงและผู้มีส่วนได้ส่วนเส ...
    • type-icon

      การจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษาการสร้างความร่วมมือด้านการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนระหว่างเมือง ในรูปแบบเมืองแฝด (Twin Cities) ระดับนานาชาติ ด้วยวิธีคัดเลือก 

      ธีระ สินเดชารักษ์; Teera Sindecharak (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      ความสัมพันธ์เมืองแฝด/เมืองพี่เมืองน้องนั้นเป็นความสัมพันธ์ในระดับที่เท่าเทียมกันระหว่างจังหวัดของไทยกับจังหวัด (หรือ เมืองหรือชื่อเรียกอีกอย่างที่มีฐานะเทียบเท่ากับจังหวัดไทย เช่น มลรัฐ มณฑล นคร) ของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก โดยมีจุดมุ่งหมายในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ความร่วมมืออันดีต่อกันและมีการแลกเปลี่ยนกันในด้านต่าง ๆ โดยทั่วไป เช่น ด้านการศึกษา การสาธารณสุข การท่องเที่ยว อุตสาหกรรม เป็นต้น เมืองที่จะสามารถเป็นเมืองแฝด/เมืองพี่เมืองน้องได้นั้น จำเป็นต้องมีความคล้ายคลึงกันในด้านต่าง ๆ เช่น ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต/ความเป็นอยู่ ...
    • type-icon

      การตรวจวิเคราะห์ระดับไวตามินดีในน้ำนมเปรียบเทียบกับระดับไวตามินดีในเลือดของหญิงช่วงให้นมบุตรด้วยเทคนิค High Performance Liquid Chromatography (HPLC) 

      นริสา เก่งตรง บดีรัฐ; Narisa Kengtrong Bordeerat (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      ในปัจจุบันได้มีแนวคิดการดำเนินโครงการสายใยรักแห่งครอบครัว มุ่งเน้นให้แม่เลี้ยงดูบุตรด้วยนมแม่เพื่อการพัฒนาการและการเจริญเติบโตที่สมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจของบุตร ทำให้จำนวนของแม่ที่เลี้ยงดูบุตรด้วยนมแม่เพิ่มมากขึ้น ดังนั้นเด็กทารก กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตรจึงเป็นกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะขาดไวตามินดี ซึ่งเป็นกลุ่มที่ควรเฝ้าระวัง ติดตาม และประเมินภาวการณ์ขาดไวตามินดีอย่างใกล้ชิด แต่อย่างไรก็ตามข้อมูลในเรื่องระดับไวตามินดีที่เหมาะสมและความสัมพันธ์ของระดับไวตามินดีในร่างกายและน้ำนมของหญิงในช่วงให้นมบุตรยังมีไม่เพียงพอ ...
    • type-icon

      การตรวจสอบด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence) และการจัดทำคู่มือประเมินผลด้านสิทธิมนุษยชนอย่างรอบด้าน (Human Rights Due Diligence Handbook) ของธุรกิจการโรงแรม รวมทั้งรายการตรวจสอบ (Checklist) ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจการโรงแรม 

      พิภพ อุดร (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      หลักการตรวจสอบและประเมินผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน (Human Rights Due Diligence-HRDD) ได้รับการระบุไว้ในหลักการชี้แนะว่าด้วยธุรกิจและสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (UN Guiding Principles on Business and Human Rights) หลักการชี้แนะเป็นกรอบสำหรับรัฐ เพื่อควบคุมให้ภาคเอกชนเคารพสิทธิมนุษยชนด้วยการจัดทำ ‘พิมพ์เขียว’ สำหรับบริษัทต่างๆ เพื่อเป็นมาตรฐานสากลในการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน และเสนอแนวทางในการจัดการความเสี่ยงในการละเมิดสิทธิมนุษยชน โดยได้รับการสนับสนุนจากภาคธุรกิจ และประชาสังคมเช่นเดียวกับจากรัฐต่างๆ โดยมีหลักการวางอยู่บนหลัก 3 ประการ คือ 1) การคุ้มครอ ...
    • type-icon

      การถอดบทเรียนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน 

      ธีระ สินเดชารักษ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      กระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน เป็นกิจกรรมทางสังคมในรูปแบบหนึ่งที่ส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุมชนได้มีส่วนร่วมในการจัดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งภายในชุมชนด้วยความสมัครใจของคู่ขัดแย้ง และใช้กระบวนการยุติธรรมทางเลือก อันจะนำไปสู่การลดคดีเข้าสู่ชั้นศาล และลดภาระค่าใช้จ่ายของประชาชนอันเกิดจากการเข้าถึงจนออกจากกระบวนการยุติธรรมหลัก ในบทความนี้พยายามนำเสนอแนวทางและวิธีการพัฒนากระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทตามบทบาทหน้าที่ของศูนย์ยุติธรรมชุมชนตัวอย่าง ๘๑ แห่งในสำนักงานยุติธรรมจังหวัด ๒๗ จังหวัดทั้งที่มีอัตราการไกล่เกลี่ยสำเร็จสูงสุด และต่ำสุดจากสถิติย้อนหลัง ...
    • type-icon

      การทวนสอบคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนนั้น เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการจัดทาคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร (Carbon Footprint for Organization) จึงเป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ได้ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรเป็นการวัดผลกระทบด้านภาวะโลกร้อนที่ปล่อยจากกิจกรรม ...
    • type-icon

      การทวนสอบคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนนั้น เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร (Carbon Footprint for Organization) จึงเป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ได้ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรเป็นการวัดผลกระทบด้านภาวะโลกร้อนที่ปล่อยจากกิจกรรม ...
    • type-icon

      การทวนสอบคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร ณ โรงงานพฤกษา พรีคาสท์ ลำลูกกา และโรงงานพฤกษา พรีคาสท์ นวนคร 

      หาญพล พึ่งรัศมี; ไพรัช อุศุภรัตน์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนนั้น เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร (Carbon Footprint for Organization) จึงเป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ได้ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรเป็นการวัดผลกระทบด้านภาวะโลกร้อนที่ปล่อยจากกิจกรรม ...
    • type-icon

      การทวนสอบคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร 

      หาญพล พึ่งรัศมี; Phungrassami, Harnpon (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนนั้น เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์ องค์กร (Carbon Footprint for Organization) จึงเป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆของมนุษย์ได้เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรเป็นการวัดผลกระทบด้านภาวะโลกร้อนที่ปล่อยจากกิจกรรม ...
    • type-icon

      การทวนสอบคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรของ บริษัท หาดทิพย์ จำกัด (มหาชน) โรงงานหาดใหญ่ ต.บ้านพรุ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 

      ไพรัช อุศุภรัตน์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2018)

      ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนนั้น เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร (Carbon Footprint for Organization) จึงเป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ได้ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรเป็นการวัดผลกระทบด้านภาวะโลกร้อนที่ปล่อยจากกิจกรรม ...
    • type-icon

      การนำแนวทางศาลยาเสพติดกับการนำมาปรับใช้ในประเทศไทย 

      ศักดิ์ชัย เลิศพานิชพันธุ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      การศึกษาวิจัย เรื่อง “การนำแนวทางศาลยาเสพติดมาปรับใช้ในประเทศไทย” มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวทางการเบี่ยงเบนผู้กระทำความผิดออกจากกระบวนการยุติธรรมปกติ กลั่นกรองและบำบัดผู้ติดยาเสพติดทั้งทางร่างกายและจิตใจโดยจัดตั้งศาลชำนาญการพิเศษที่เรียกว่าศาลยาเสพติด โดยมีทีมงานศาลยาเสพติดซึ่งมาจากองค์กรสหวิทยาการ เข้าร่วมพิจารณาอย่างใกล้ชิด และเพื่อเข้าใจถึงหลักเกณฑ์ กระบวนการ และแนวคิดในการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิด (Rehabilitation) อันนำมาใช้กับผู้ติดยาเสพติดในรูปแบบระบบบำบัดแบบบูรณาการภายใต้รูปแบบศาลยาเสพติด รวมทั้งเพื่อเสนอรูปแบบใหม่ของการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภา ...
    • type-icon

      การบริหารจัดการและดูแลระบบคลังความรู้สู่ความเป็นเลิศ ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ 2557 

      จิรรัตน์ ธีระวราพฤกษ์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2014)

      โครงการ การบริหารจัดการและดูแลระบบคลังความรู้สู่คูวามเป็นเลิศทางวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี (www.scimath.org) เป็นโครงการต่อเนื่องเป็นปีที่ 4 โดยเนื้อหาของโครงการคือ การพัฒนาเนื้อหาใหม่ๆที่มีความน่าสนใจและถูกต้องเข้าสู่ระบบ มีการกระตุ้นการใช้งานของเครือข่ายเพื่อการศึกษารวมถึงการดูแลระบบและโครงสร้างพื้นฐาน เช่น เซิร์ฟเวอร์เนื้อที่จัดเก็บข้อมูล หรือ แบนด์วิดท์สำหรับเว็บไซต์ www.scimath.org ให้มีประสิทธิภาพเพียงพอต่อการรองรับการใช้งานของประชาชนทั่วไปได้ This project is the continued project for the 4th year. The aim of the project is to create ...
    • type-icon

      การประดิษฐ์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ด้านเคมีไฟฟ้าเพื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในชั้นเรียนระดับมัธยมศึกษา 

      ยุทธนา ตันติรุ่งโรจน์ชัย; Tantirungrotechai, Yuthana (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)

      การได้รับประสบการณ์ตรงจากการฝึกทดลองใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์จริง เป็นสิ่งสำคัญในกระบวนการเรียนรู้แม้แต่ในระดับมัธยมศึกษา แต่เนื่องจากเครื่องมือวิทยาศาสตร์ทั่วไปมีราคาแพง จึงมักเกิดปัญหาอุปกรณ์ไม่เพียงพอต่อจำนวนนักเรียน ด้วยเหตุนี้ ผู้วิจัยจึงได้พยายามพัฒนาเครื่องมือวิทยาศาสตร์ด้านเคมีไฟฟ้า ได้แก่ มาตรวัดพีเอชและโพเทนชิโอสแตท เพื่อการเรียนการสอนที่มีราคาประหยัดราคาต้นทุนไม่เกิน 5,000 บาทต่อชิ้นขึ้นมา เพื่อให้ใช้งานได้จริงกับการเรียนการสอนทางวิทยาศาสตร์ โดยอาศัยแนวคิดของชิ้นส่วนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แบบเปิดและถอดประกอบได้ (modular and open-source ...
    • type-icon

      การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสะอาดเพื่อเพิ่มผลผลิตสีเขียว (Green Productivity) ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ ประจำปีงบประมาณ 2560 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2017)

      จากการเติบโตของเศรษฐกิจในภาคอุตสาหกรรมส่งผลกระทบโดยตรงต่อระบบนิเวศวิทยาและสิ่งแวดล้อม มลภาวะที่เกิดขึ้นจากตัววัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต กระบวนการผลิต การขนส่ง รวมถึงการปล่อยของเสียและการกำจัดของเหลือใช้จากกระบวนการผลิตของภาคอุตสาหกรรม ดังจะเห็นได้จากสิ่งแวดล้อมที่ถูกทำลาย อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มสูงขึ้นทำให้เกิดภาวะโลกร้อนที่ผ่านมาทั้งภาครัฐและเอกชนได้มีความพยายามอย่างต่อเนื่องที่จะหาแนวคิด วิธีการ เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพเพื่อบริหารจัดการปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ในขณะเดียวกันภาคอุตสาหกรรมซึ่งถือเป็นกลไกหลักที่สนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศ ...
    • type-icon

      การประเมินความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้เสียกองทุนกีฬามวย 

      โมไนยพล รณเวช (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2016)

      การประเมินความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้เสียกองทุนกีฬามวยนี้ เก็บรวบรวมข้อมูลในวันที่ 1-30 กันยายน 2559 จากผู้มีส่วนได้เสีย อันประกอบไปด้วยนักมวย ผู้ฝึกสอน ผู้ตัดสิน ผู้จัดการนักมวย หัวหน้าค่ายมวย นายสนามมวย ผู้จัดรายการแข่งขันมวย อดีตบุคคลในวงการมวย และผู้ร่วมชมร่วมเชียร์กีฬามวย จำนวน 537 คน ผลการสำรวจ พบว่า ผู้มีส่วนได้เสียมีความพึงพอใจต่อภาพรวมของกองทุนกีฬามวยในระดับมาก (3.92) และเมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ผู้มีส่วนได้เสียก็มีความพึงพอใจต่อกองทุนกีฬามวยในระดับมากทุกด้านด้วย เรียงตามลำดับ ดังนี้ 1. ด้านการมีส่วนร่วมชมร่วมเชียร์ของผู้ชม (4.09) ...