Now showing items 1-20 of 643

    • type-icon

      Carbon Footprint Verification Year 2017 

      หาญพล พึ่งรัศมี (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-06-19)

      ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภาวะโลกร้อน (Global Warming) เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อสังคมโลกอย่างรุนแรงและต่อเนื่องมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งปัญหาภาวะโลกร้อนนั้น เกิดจากการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ที่มากเกินไปสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นการจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กร (Carbon Footprint for Organization) จึงเป็นแนวคิดในการคำนวณปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ได้ เพื่อให้ทราบถึงปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยออกมาทั้งทางตรงและทางอ้อม การจัดทำคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรเป็นการวัดผลกระทบด้านภาวะโลกร้อนที่ปล่อยจากกิจกรรม ...
    • type-icon

      Clustered water characterization 

      กิตติพงศ์ ไชยนอก (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2020-04-28)

      งานวิจัยนี้ได้ศึกษาลักษณะของกลุ่มน้ำโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ต่างๆ ประกอบด้วย ออกซิเจนนิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนซ์สเปกโทรสโกปี (17O-NMR), ฟูเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปกโทรสโกปี (FT-IR), อินดักทีฟ คับเปิล พลาสมา แมสสเปกโตรเมตทรี (ICP-MS) และไอออนโครมาโตกราฟี (IC) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของกลุ่มน้ำที่เกิดจากการเติมหินออบซิเดียนไป โดยวิเคราะห์ด้วยเทคนิค 17O-NMR ผลการศึกษาพบว่า การเติมหินออบซิเดียนจะไปลดความกว้างของพีค (FWHM) สำหรับน้ำที่ผ่านการบำบัดและปริมาตรของกลุ่มโมเลกุลของน้ำ นอกจากนี้ยังได้ตรวจสอบความสามารถในการละลายน้ำและการผลิตไฮโดรเจน (H2) ...
    • Thumbnail

      COPACABANA PATTAYA เพื่อทำการศึกษาแรงลม โดยวิธีทดสอบจำลองในอุโมงค์ลม 

      วิโรจน์ บุญญภิญโญ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-12-09)

      รายละเอียดตามเอกสารแนบ
    • type-icon

      Creative Hubs Mapping 

      พีรดร แก้วลาย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-08-02)

      ช่วงระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา ในทั่วทุกมุมโลกได้มีการเกิดขึ้นของพื้นที่นวัตกรรม (innovative space) ซึ่งเป็นพื้นที่ในการออกแบบ ทดสอบ ขยายผล และนำผลงานที่มีแนวคิดใหม่ๆ เหล่านั้นออกสู่ตลาด บริติช เคานซิล (British Council) ได้ทำงานกับศูนย์รวมความคิดสร้างสรรค์ (creative hub) ทั่วโลก มาเป็นเวลาหลายปี ขณะนี้บริติช เคานซิล มีความประสงค์ที่ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับพื้นที่ดังกล่าว ในประเทศในกลุ่มทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งได้แก่ มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ไทย และอินโดนีเซีย รายงานฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อศึกษา 6 กรณีศึกษาของศูนย์รวมความคิดสร้างสรรค์ (creative hub) ...
    • Thumbnail

      Drought monitoring and impact assessment on rice in a lower part of Northeastern Thailand for a basis of decision support system 

      Daroonwan Kamthonkiat; Honda, Kiyoshi (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2009)
    • Thumbnail

      Evaluation on the IPEC Thailand Project : recommendation for the improvement of the capacity in project implementation and policy setting concerning child labor in Thailand 

      Supranee Srichatrapimuk; Surachai Tipsumonta (Thammasat University Research and Consultancy Institute, 2002)
    • Thumbnail

      Final report assessment of public energy conservation attitude by DSM programs 

      Research and Consultancy Institute, Thammasat University (Thammasat University Research and Consultancy Institute, 2010)
    • Thumbnail

      Final report payment strategic directions 

      Pichet Durongkaveroj; Arnat Leemakdej; Pradit Withisuphakorn; Preecha Vijitthammaros; Waranon Dilok-kunanan; Monchaya Mitpaibul; Chaiyuth Padungsaksawat (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2001)
    • type-icon

      Research on the Social Impact of Creative Hubs in Thailand 

      พีรดร แก้วลาย (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-08-03)

      บริติช เคาน์ซิล อธิบายความหมายของ 'ศูนย์กลางความคิดสร้างสรรค์' ว่าเป็นสถานที่ในทางกายภาพและเสมือนจริง ที่นำคนที่มีความคิดสร้างสรรค์มาไว้ด้วยกัน เป็นผู้ประสานโดยการให้พื้นที่และการสนับสนุนการสร้างเครือข่าย การพัฒนาธุรกิจ และการมีส่วนร่วมของชุมชนในการขับเคลื่อนงานสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และเทคโนโลยี นอกเหนือจากการมีส่วนร่วมในการเติบโตทางเศรษฐกิจและการพัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ของประเทศไทยแล้ว ศูนย์กลางความคิดสร้างสรรค์ถือเป็นหนึ่งในกลไกสำคัญที่สร้างการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ในระดับบุคคล ชุมชน และระดับประเทศ โดยแต่ละแห่งจะมีเอกลักษณ์ ลักษณะ และบทบาท เฉพาะตัว ...
    • Thumbnail

      Research project on the service user satisfaction and the satisfaction of those affected by the operations of the Tourism Authority of Thailand 

      Research and Consultancy Institute, Thammasat University (Thammasat University Research and Consultancy Institute, 2002)
    • type-icon

      SME ปรับตัวรับมือ VUCA World (ภาคบริการ) ปีงบประมาณ 2565 

      อรพรรณ คงมาลัย (สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2022-11-24)

      หน่วยร่วมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ร่วมกับสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ดำเนินโครงการ SME ปรับตัวรับมือ VUCA World เพื่อส่งเสริมและพัฒนาผู้ประกอบการ SME (ภาคบริการ) ปีงบประมาณ 2565 การดำเนินโครงการในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ เสริมแกร่งและยกระดับความสามารถในการแข่งขันธุรกิจให้สอดรับกับกระแสนิยมของโลก และพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของกลุ่มธุรกิจบริการ และเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และทันต่อสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วยุค VUCA World มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ยกระดับความสามารถการแข่งขันธุรกิจผ่านโปรแกรม SME VUCA ...
    • type-icon

      The research project on model of public participation in the area of development of power generation project of Electricity Generating Authority of Thailand 

      Reungsak Suddhipong; Chamnong Wongsawang; Paitoon Pittayachawal; Salin Saraito; Saenee Ahamchanya; Montree Suwanmontree; Wirat Peerasatian; Manop Manowat; Theeranan Kesaprakorn; Nittaya Panjamawat; Surachai Prasertwikai; Aurapan Weerakalas; Wanchai Prasatkhetwit (Thammasat University Research and Consultancy Institute, 2001)
    • type-icon
    • type-icon

      กรอบการเจรจา ข้อตกลง และสนธิสัญญาระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับประเด็นการแพร่ขยายอาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูงและการควบคุมการลดอาวุธตามแบบ อาวุธเล็ก อาวุธเบา และอาวุธชนิดอื่นๆ 

      ภิญญ์ ศิรประภาศิริ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2013)

      งานวิจัยฉบับนี้มุ่งศึกษาวิเคราะห์ความพยายามระหว่างประเทศในการควบคุมการลดอาวุธเล็กและอาวุธเบส โดยการศึกษาทั้งในแง่องค์การที่มีบทบาทสำคัญ เวที กรอบการเจรจาสนธิสัญญาและข้อตกลง รวมถึงศึกษาความสอดคล้องของกฎหมายไทยต่อความพยายามดังกล่าว ทั้งนี้ งานวิจัยมุ่งให้ความสำคัญต่อประเด็นเรื่องสนธิสัญญาว่าด้วยการค้าอาวุธ (Arms Trade Treaty) ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับการจำกัดอาวุธเล็กและอาวุธเบา และอยู่ระหว่างเปิดให้ประเทศต่างๆ ร่วมลงนามและให้สัตยาบันเป็นรัฐภาคี งานวิจัยฉบับนี้พบว่า เวทีการประชุมหรือเวทีแลกเปลี่ยนขนาดใหญ่ในระดับพหุภาคีในภาพรวมไม่มีความก้าวหน้าท ...
    • type-icon

      กรอบแนวทางการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ กรณีศึกษาจังหวัดปทุมธานี (Pathumthani Smart City Roadmap) 

      ภาวิณี เอี่ยมตระกูล (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2564-10-07)

      จังหวัดปทุมธานีเป็นพื้นที่ปริมณฑลที่มีบทบาทสำคัญในการเป็นเมืองมหาวิทยาลัย เมืองของการอยู่อาศัย และเป็นศูนย์กลางของการเปลี่ยนถ่ายระบบคมนาคมขนส่งในระดับภูมิภาค ตลอดจนมีแผนพัฒนาโครงข่ายระบบคมนาคมขนส่งมวลชนทางรางเชื่อมต่อศูนย์กลางธุรกิจของเมืองกับชุมชนชานเมืองให้เกิดประสิทธิภาพในการเดินทางในอนาคต ทำให้เกิดแรงดึงดูดให้เกิดความต้องการด้านการเดินทางของประชาชนไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ของเขตเมือง ส่งผลต่อรูปแบบการลงทุนทั้งด้านโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ของภาครัฐ ในการรองรับความต้องการของประชาชนและแนวทางในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีเพื่อประชาชน ...
    • type-icon

      การขับเคลื่อนกองทุนด้านการพัฒนาสังคมในประเทศไทย 

      อัญมณี บูรณกานนท์ (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-03-20)

      การศึกษาเรื่อง “การขับเคลื่อนกองทุนด้านการพัฒนาสังคมในประเทศไทย” มีวัตถุประสงค์ของการศึกษา 3 ประการ ประการที่ 1 เพื่อศึกษาองค์ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบการบริหารจัดการกองทุนด้านการพัฒนาสังคมที่เหมาะสมในประเทศไทย ประกอบด้วย กองทุนคุ้มครองเด็ก กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม กองทุนผู้สูงอายุ กองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ และกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี ประการที่ 2 เพื่อศึกษาบทเรียนการบริหารจัดการกองทุนด้านการพัฒนาสังคมในประเทศไทยที่จัดตั้งโดยภาครัฐในต่างประเทศ และประการที่ 3 เพื่อเสนอรูปแบบทางเลือกในการบริหารจัดการกองทุนด้านการพัฒนาสังคมประเทศไทย ...
    • type-icon

      การขับเคลื่อนงานวิจัยกลุ่มการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ บพข. ปี 2564 เพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวไทย 

      ประไพพิศ มุทิตาเจริญ (สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2023-04-04)

      โครงการ “การขับเคลื่อนงานวิจัยกลุ่มการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ บพข. ปี 2564 เพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวไทย” มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อติดตาม ความก้าวหน้าการใช้ประโยชน์ ของแผนงานวิจัยกลุ่มการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ บพข.ที่รับทุน ในปี 2563 2) เพื่อขับเคลื่อนและผลักดันงานวิจัยกลุ่มการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ บพข. ปี 2564 สู่การใช้ประโยชน์ครอบคลุมในมิติต่างๆ เพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวไทย 3) เพื่อสร้างความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่ายสนับสนุนการสื่อสารสาธารณะที่สอดคล้องกับบริบทของ ...
    • Thumbnail

      การขับเคลื่อนนโยบายความร่วมมือด้านการศึกษาสู่ประชาคมอาเซียน : กรณีศึกษาโครงการโรงเรียนคู่พัฒนาไทย - อินโดนีเซีย 

      อำพา แก้วกำกง (สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2022-10-26)

      รายละเอียดตามไฟล์แนบ
    • type-icon

      การขับเคลื่อนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เป็นกลไกลดความเหลื่อมล้ำทางด้านการศึกษา 

      ทรงชัย ทองปาน (สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2023-01-13)

      เข้าดูเนื้อหาได้ที่ https://www.kpi.ac.th/knowledge/research/data/1301
    • type-icon

      การคัดกรองโรคมะเร็งผิวหนังจากภาพถ่ายบนอุปกรณ์สมาร์ทโฟน 

      จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต (สำนักงานศูนย์วิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2563-08-28)

      งานวิจัยนี้นำเสนอระบบรู้จำมะเร็งผิวหนังเมลาโนมาอย่างอัตโนมัติโดยใช้โครงข่ายประสาทสังวัตนาการเดนซ์เน็ต (Densely Connected Convolutional Network: DenseNet121) และโครงข่าย Wasserstein Generative Adversarial Network (WGAN-GP) ในการสร้างภาพรอยโรคผิวหนังเทียมเพื่อใช้เพิ่มประสิทธิภาพในการฝึกฝนโครงข่ายที่มีจำนวนข้อมูลในการฝึกฝนน้อย วัตถุประสงค์หลักของงานวิจัยนี้คือ การสนับสนุนการตรวจคัดกรองและวินิจฉัยมะเร็งผิวหนังโดยใช้ภาพถ่ายรอยโรคผิวหนัง โครงข่าย DenseNet121 ถูกนำมาใช้และประเมินผลเปรียบเทียบกับโครงข่ายเรสเน็ต (Deep Residual Neural Network: ResNet50) ...